Thursday, March 28, 2013

อาตาปี สัมปชาโน สติมา

     ท่านที่อ่านพระไตรปิฎก คงจะได้พบข้อความ "อาตาปี สัมปชาโน สติมา" หรือที่แปลเป็นภาษาไทยว่า "มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ" กระจายอยู่หลายแห่งหลายที่ โดยเฉพาะใน มหาสติปัฏฐานสูตร ดังข้อความว่า

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ พิจารณาเห็น กายในกาย (เวทนาในเวทนา / จิตในจิต / ธรรมในธรรม) อยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้

สัมปชาโน ท่านแปลว่า มีสัมปชัญญะ ในที่นี้คืออะไร เหมือนกันหรือไม่ กับคำว่า สัมปชัญญะ ในมหาสติปัฏฐาน หมวดกายานุปัสสนา สัมปชัญญบรรพ ที่ว่า

"ความรู้สึกตัวในการก้าว ในการถอย ในการแล ในการเหลียว ในการคู้เข้า ในการเหยียดออก ในการทรงผ้าสังฆาฏิบาตรและจีวร ในการฉัน การดื่ม การเคี้ยว การลิ้ม ในการถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ ย่อมทำความรู้สึกตัว ในการเดิน การยืน การนั่ง การหลับ การตื่น การพูด การนิ่ง ดังพรรณนามาฉะนี้"     

เย็นวันหนึ่งระหว่างขับรถทางไกล ผมเปิดวิทยุทหารอากาศ AM 945 kHz ฟังแนวทางเจริญวิปัสสนา(ชุดเทปวิทยุ) ครั้งที่เท่าไหร่จำไม่ได้ หัวข้อธรรมในวันนั้นเกี่ยวกับ "ปัญญา" มีข้อความที่แก้ความสงสัยในเรื่องความหมายของ สัมปชาโน ดังกล่าวข้างต้น ที่มีมานาน ผมจอดรถ จดข้อความลงบนเศษกระดาษใบเสร็จร้านสะดวกซื้อ แล้วใส่ไว้ในกระเป๋าสตางค์ ไม่ทราบว่า อยู่ในนั้นนานแค่ไหนแล้ว วันนี้มีโอกาสได้เอามาดิจิไตซ์แปะไว้ที่นี่ครับ ข้อความมีว่า

"ปัญญา ชื่อ สัมปชัญญะ เพราะ รู้อนิจจัง"

ที่แท้ อาตาปี สัมปชาโน สติมา ก็คือ มีความเพียร มีปัญญารู้อนิจจัง มีสติ นั่นเองครับ ซึ่งต่างกันกับคำว่า สัมปชัญญะ ที่หมายถึง ความรู้สึกตัวในการก้าว ในการถอย ในการแล ในการเหลียว ในการคู้เข้า ในการเหยียดออก ฯลฯ

 
นิมิต  ชมนาวัง
28 มีนาคม 2556

สาธยาย มหาสติปัฏฐานสูตร

[ยังตรวจทานไม่เสร็จ]

http://bit.ly/15YqWQN

==============
มหาสติปฏฺฐานสุตฺตํ
==============
[๒๗๓]
เอวมฺเม สุตํ ฯ

เอกํ สมยํ ภควา กุรูสุ วิหรติ กมฺมาสทมฺมํ นาม กุรูนํ นิคโม ฯ

ตตฺร โข ภควา ภิกฺขู อามนฺเตสิ ภิกฺขโวติ ฯ

ภทนฺเตติเต ภิกฺขู ภควโต ปจฺจสฺโสสุํ ฯ

ภควา เอตทโว จ เอกายโน อยํ ภิกฺขเว มคฺโค สตฺตานํ วิสุทฺธิยา
โสกปริเทวานํ สมติกฺกมาย ทุกฺขโทมนสฺสานํ อตฺถงฺคมาย ญายสฺส
อธิคมาย นิพฺพานสฺส สจฺฉิกิริยาย ยทิทํ จตฺตาโร สติปฏฺฐานา ฯ

กตเม จตฺตาโร ฯ

อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ อาตาปี สมฺปชาโน สติมา วิเนยฺย โลเก อภิชฺฌาโทมนสฺสํ
เวทนาสุ เวทนานุปสฺสี วิหรติ อาตาปี สมฺปชาโน สติมา วิเนยฺย โลเก อภิชฺฌาโทมนสฺสํ
จิตฺเต จิตฺตานุปสฺสี วิหรติ อาตาปี สมฺปชาโน สติมา วิเนยฺย โลเก อภิชฺฌาโทมนสฺสํ
ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ อาตาปี สมฺปชาโน สติมา วิเนยฺย โลเก อภิชฺฌาโทมนสฺสํ ฯ

[๒๗๔]
กถญฺจ ภิกฺขเว ภิกฺขุ กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ ฯ

อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ อรญฺญคโต วา รุกฺขมูลคโต วา สุญฺญาคารคโต วา นิสีทติ ปลฺลงฺกํ อาภุชิตฺวา
อุชุํ กายํ ปณิธาย ปริมุขํ สตึ อุปฏฺฐเปตฺวา ฯ

โส สโต ว อสฺสสติ สโต ปสฺสสติ
ทีฆํ วา อสฺสสนฺโต ทีฆํ อสฺสสามีติ ปชานาติ
ทีฆํ วา ปสฺสสนฺโต ทีฆํ ปสฺสสามีติ ปชานาติ
รสฺสํ วา อสฺสสนฺโต รสฺสํ อสฺสสามีติ ปชานาติ
รสฺสํ วา ปสฺสสนฺโต รสฺสํ ปสฺสสามีติ ปชานาติ

สพฺพกายปฏิสํเวที อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ สพฺพกายปฏิสํเวที
ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ปสฺสมฺภยํ กายสงฺขารํ อสฺสสิสฺสามีติ
สิกฺขติ ปสฺสมฺภยํ กายสงฺขารํ ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ฯ

เสยฺยถาปิ ภิกฺขเว ทกฺโข ภมกาโร วา ภมการนฺเตวาสี วา
ทีฆํ วา อญฺฉนฺโต ทีฆํ อญฺฉามีติ ปชานาติ
รสฺสํ วา อญฺฉนฺโต รสฺสํ อญฺฉามีติ ปชานาติ

เอวเมว โข ภิกฺขเว ภิกฺขุ
ทีฆํ วา อสฺสสนฺโต ทีฆํ อสฺสสามีติ ปชานาติ
ทีฆํ วา ปสฺสสนฺโต ทีฆํ ปสฺสสามีติ ปชานาติ
รสฺสํ วา อสฺสสนฺโต รสฺสํ อสฺสสามีติ ปชานาติ
รสฺสํ วา ปสฺสสนฺโต รสฺสํ ปสฺสสามีติ ปชานาติ

สพฺพกายปฏิสํเวที อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ
สพฺพกายปฏิสํเวที ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ
ปสฺสมฺภยํ กายสงฺขารํ อสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ
ปสฺสมฺภยํ กายสงฺขารํ ปสฺสสิสฺสามีติ สิกฺขติ ฯ

อิติ อชฺฌตฺตํ วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
พหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
อชฺฌตฺตพหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ
วยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ
สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ ฯ

อตฺถิ กาโยติ วา ปนสฺส สติ ปจฺจุปฏฺฐิตา โหติ
ยาวเทว ญาณมตฺตาย ปฏิสฺสติมตฺตาย ฯ

อนิสฺสิโต จ วิหรติ น จ กิญฺจิ โลเก อุปาทิยติ ฯ

เอวมฺปิ ภิกฺขเว ภิกฺขุ กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ ฯ

[๒๗๕]
ปุน จปรํ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
คจฺฉนฺโต วา คจฺฉามีติ ปชานาติ
ฐิโต วา ฐิโตมฺหีติ ปชานาติ
นิสินฺโน วา นิสินฺโนมฺหีติ ปชานาติ
สยาโน วา สยาโนมฺหีติ ปชานาติ ฯ

ยถา ยถา วา ปนสฺส กาโย ปณิหิโต โหติ ตถา ตถานํ ปชานาติ ฯ
อิติ อชฺฌตฺตํ วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
พหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
อชฺฌตฺตพหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ
วยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ
สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ ฯ

อตฺถิ กาโยติ วา ปนสฺส สติ ปจฺจุปฏฺฐิตา โหติ
ยาวเทว ญาณมตฺตาย ปฏิสฺสติมตฺตาย ฯ
อนิสฺสิโต จ วิหรติ
น จ กิญฺจิ โลเก อุปาทิยติ ฯ
เอวมฺปิ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ ฯ

[๒๗๖]
ปุน จปรํ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
อภิกฺกนฺเต ปฏิกฺกนฺเต สมฺปชานการี โหติ
อาโลกิเต วิโลกิเต สมฺปชานการี โหติ
สมฺมิญฺชิเต ปสาริเต สมฺปชานการี โหติ
สงฺฆาฏิปตฺตจีวรธารเณ สมฺปชานการี โหติ
อสิเต ปีเต ขายิเต สายิเต สมฺปชานการี โหติ
อุจฺจารปสฺสาวกมฺเม สมฺปชานการี โหติ
คเต ฐิเต นิสินฺเน สุตฺเต ชาคริเต ภาสิเต ตุณฺหีภาเว สมฺปชานการี โหติ ฯ

อิติ อชฺฌตฺตํ วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
พหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
อชฺฌตฺตพหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ
วยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ
สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ ฯ

อตฺถิ กาโยติ วา ปนสฺส สติ ปจฺจุปฏฺฐิตา โหติ
ยาวเทว ญาณมตฺตาย ปฏิสฺสติมตฺตาย ฯ

อนิสฺสิโต จ วิหรติ น จ กิญฺจิ โลเก อุปาทิยติ ฯ

เอวมฺปิ ภิกฺขเว ภิกฺขุ กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ ฯ

[๒๗๗]
ปุน จปรํ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
อิมเมว กายํ อุทฺธํ ปาทตลา อโธ เกสมตฺถกา
ตจปริยนฺตํ ปูรนฺนานปฺปการสฺส อสุจิโน ปจฺจเวกฺขติ

อตฺถิ อิมสฺมึ กาเย
เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ มํสํ นหารู
อฏฺฐี อฏฺฐิมิญฺชํ วกฺกํ หทยํ ยกนํ กิโลมกํ ปิหกํ ปปฺผาสํ
อนฺตํ อนฺตคุณํ อุทริยํ กรีสํ มตฺถลุงฺคํ ปิตฺตํ เสมฺหํ ปุพฺโพ โลหิตํ
เสโท เมโท อสฺสุ วสา เขโฬ สิงฺฆาณิกา ลสิกา มุตฺตนฺติ ฯ

เสยฺยถาปิ ภิกฺขเว อุภโตมุขา มูโต ฬี ปูรา นานาวิหิตสฺส ธญฺญสฺส เสยฺยถีทํ
สาลีนํ วีหีนํ มุคฺคานํ มาสานํ ติลานํ ตณฺฑุลานํ
ตเมนํ จกฺขุมา ปุริโส มุญฺจิตฺวา ปจฺจเวกฺเขยฺย

อิเม สาลี อิเม วีหี อิเม มุคฺคา อิเม มาสา อิเม ติลา อิเม ตณฺฑุลาติ
เอวเมว โข ภิกฺขเว ภิกฺขุ อิมเมว กายํ อุทฺธํ ปาทตลา อโธ เกสมตฺถกา
ตจปริยนฺตํ ปูรนฺนานปฺปการสฺส อสุจิโน ปจฺจเวกฺขติ

อตฺถิ อิมสฺมึ กาเย เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ
มํสํ นหารู อฏฺฐี อฏฺฐิมิญฺชํ วกฺกํ หทยํ ยกนํ กิโลมกํ
ปิหกํ ปปฺผาสํ อนฺตํ อนฺตคุณํ อุทริยํ กรีสํ มตฺถลุงฺคํ ปิตฺตํ เสมฺหํ ปุพฺโพ โลหิตํ
เสโท เมโท อสฺสุ วสา เขโฬ สิงฺฆาณิกา ลสิกา มุตฺตนฺติ ฯ

อิติ อชฺฌตฺตํ วา
กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
พหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
อชฺฌตฺตพหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ
วยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ
สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ ฯ

อตฺถิ กาโยติ วา ปนสฺส สติ ปจฺจุปฏฺฐิตา โหติ
ยาวเทว ญาณมตฺตาย ปฏิสฺสติมตฺตาย ฯ

อนิสฺสิโต จ วิหรติ
น จ กิญฺจิ โลเก อุปาทิยติ ฯ

เอวมฺปิ ภิกฺขเว ภิกฺขุ กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ ฯ

[๒๗๘]
ปุน จปรํ ภิกฺขเว ภิกฺขุ อิมเมว กายํ ยถาฐิตํ ยถาปณิหิตํ ธาตุโส ปจฺจเวกฺขติ
อตฺถิ อิมสฺมึ กาเย ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตูติ ฯ

เสยฺยถาปิ ภิกฺขเว
ทกฺโข โคฆาตโก วา โคฆาตกนฺเตวาสี วา
คาวึ วธิตฺวา จาตุมฺมหาปเถ วิลโส ปฏิวิภชิตฺวา นิสินฺโน อสฺส

เอวเมว โข ภิกฺขเว ภิกฺขุ
อิมเมว กายํ ยถาฐิตํ ยถาปณิหิตํ ธาตุโส ปจฺจเวกฺขติ
อตฺถิ อิมสฺมึ กาเย ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตูติ ฯ

อิติ อชฺฌตฺตํ วา
กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
พหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
อชฺฌตฺตพหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ
วยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ
สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ ฯ

อตฺถิ กาโยติ วา ปนสฺส สติ ปจฺจุปฏฺฐิตา โหติ
ยาวเทว ญาณมตฺตาย ปฏิสฺสติมตฺตาย ฯ

อนิสฺสิโต จ วิหรติ
น จ กิญฺจิ โลเก อุปาทิยติ ฯ

เอวมฺปิ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ ฯ

[๒๗๙]
ปุน จปรํ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
เสยฺยถาปิ ปสฺเสยฺย สรีรํ สีวถิกาย ฉฑฺฑิตํ
เอกาหมตํ วา ทฺวีหมตํ วา ตีหมตํ วา อุทฺธุมาตกํ วินีลกํ วิปุพฺพกชาตํ ฯ

โส อิมเมว กายํ อุปสํหรติ อยมฺปิ โข กาโย เอวํธมฺโม เอวํภาวี เอวํอนตีโตติ ฯ

อิติ อชฺฌตฺตํ วา ฯ

กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
พหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
อชฺฌตฺตพหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ
วยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ
สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ ฯ

อตฺถิ กาโยติ วา ปนสฺส สติ ปจฺจุปฏฺฐิตา โหติ
ยาวเทว ญาณมตฺตาย ปฏิสฺสติมตฺตาย ฯ

อนิสฺสิโต จ วิหรติ  น จ กิญฺจิ โลเก อุปาทิยติ ฯ

เอวมฺปิ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ ฯ

[๒๘๐]
ปุน จปรํ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
เสยฺยถาปิ ปสฺเสยฺย สรีรํ สีวถิกาย ฉฑฺฑิตํ
กาเกหิ วา ขชฺชมานํ
กุลเลหิ วา ขชฺชมานํ
คิชฺเฌหิ วา ขชฺชมานํ
สุวาเนหิ วา ขชฺชมานํ
สิคาเลหิ วา ขชฺชมานํ
วิวิเธหิ วา ปาณกชาเตหิ ขชฺชมานํ ฯ

โส อิมเมว กายํ อุปสํหรติ
อยมฺปิ โข กาโย เอวํธมฺโม เอวํภาวี เอวํอนตีโตติ ฯ

อิติ อชฺฌตฺตํ วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
พหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
อชฺฌตฺตพหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ
วยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ
สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ ฯ

อตฺถิ กาโยติ วา ปนสฺส สติ ปจฺจุปฏฺฐิตา โหติ
ยาวเทว ญาณมตฺตาย ปฏิสฺสติมตฺตาย ฯ
อนิสฺสิโต จ วิหรติ น จ กิญฺจิ โลเก อุปาทิยติ ฯ

เอวมฺปิ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ ฯ

[๒๘๑]
ปุน จปรํ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
เสยฺยถาปิ ปสฺเสยฺย สรีรํ สีวถิกาย ฉฑฺฑิตํ
อฏฺฐิสงฺขลิกํ สมํสโลหิตํ นหารุสมฺพนฺธํ ฯ

โส อิมเมว กายํ อุปสํหรติ
อยมฺปิ โข กาโย เอวํธมฺโม เอวํภาวี เอวํอนตีโตติ ฯ

อิติ อชฺฌตฺตํ วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
พหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
อชฺฌตฺตพหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ
วยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ
สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ ฯ

อตฺถิ กาโยติ วา ปนสฺส สติ ปจฺจุปฏฺฐิตา โหติ
ยาวเทว ญาณมตฺตาย ปฏิสฺสติมตฺตาย ฯ
อนิสฺสิโต จ วิหรติ น จ กิญฺจิ โลเก อุปาทิยติ ฯ

เอวมฺปิ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ ฯ

[๒๘๒]
ปุน จปรํ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
เสยฺยถาปิ ปสฺเสยฺย สรีรํ สีวถิกาย ฉฑฺฑิตํ
อฏฺฐิสงฺขลิกํ นิมฺมํสโลหิตมกฺขิตํ นหารุสมฺพนฺธํ ฯ

โส อิมเมว กายํ อุปสํหรติ
อยมฺปิ โข กาโย เอวํธมฺโม เอวํภาวี เอวํอนตีโตติ ฯ

อิติ อชฺฌตฺตํ วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
พหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
อชฺฌตฺตพหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ
วยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ
สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ ฯ

อตฺถิ กาโยติ วา ปนสฺส สติ ปจฺจุปฏฺฐิตา โหติ
ยาวเทว ญาณมตฺตาย ปฏิสฺสติมตฺตาย ฯ
อนิสฺสิโต จ วิหรติ น จ กิญฺจิ โลเก อุปาทิยติ ฯ

เอวมฺปิ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ ฯ

[๒๘๓]
ปุน จปรํ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
เสยฺยถาปิ ปสฺเสยฺย สรีรํ สีวถิกาย ฉฑฺฑิตํ
อฏฺฐิสงฺขลิกํ อปคตมํสโลหิตํ นหารุสมฺพนฺธํ ฯ

โส อิมเมว กายํ อุปสํหรติ
อยมฺปิ โข กาโย เอวํธมฺโม เอวํภาวี เอวํอนตีโตติ ฯ

อิติ อชฺฌตฺตํ วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
พหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
อชฺฌตฺตพหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ
วยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ
สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ ฯ

อตฺถิ กาโยติ วา ปนสฺส สติ ปจฺจุปฏฺฐิตา โหติ
ยาวเทว ญาณมตฺตาย ปฏิสฺสติมตฺตาย ฯ

อนิสฺสิโต จ วิหรติ น จ กิญฺจิ โลเก อุปาทิยติ ฯ

เอวมฺปิ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ ฯ

[๒๘๔]
ปุน จปรํ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
เสยฺยถาปิ ปสฺเสยฺย สรีรํ สีวถิกาย ฉฑฺฑิตํ
อฏฺฐิกานิ อปคตนหารุสมฺพนฺธานิ 
ทิสาวิทิสาวิกฺขิตฺตานิ

อญฺเญน หตฺถฏฺฐิกํ
อญฺเญน ปาทฏฺฐิกํ
อญฺเญน ชงฺฆฏฺฐิกํ
อญฺเญน อูรุฏฺฐิกํ
อญฺเญน กฏฏฺฐิกํ
อญฺเญน ปิฏฺฐฏฺฐิกํ
อญฺเญน กณฺฏกฏฺฐิกํ
อญฺเญน ผาสุกฏฺฐิกํ
อญฺเญน อุรฏฺฐิกํ
อญฺเญน อํสฏฺฐิกํ
อญฺเญน พาหุฏฺฐิกํ
อญฺเญน คีวฏฺฐิกํ
อญฺเญน หนุกฏฺฐิกํ
อญฺเญน ทนฺตฏฺฐิกํ
อญฺเญน สีสกฏาหํ ฯ

โส อิมเมว กายํ อุปสํหรติ
อยมฺปิ โข กาโย เอวํธมฺโม เอวํภาวี เอวํอนตีโตติ ฯ

อิติ อชฺฌตฺตํ วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
พหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
อชฺฌตฺตพหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ
วยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ
สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ ฯ

อตฺถิ กาโยติ วา ปนสฺส สติ ปจฺจุปฏฺฐิตา โหติ
ยาวเทว ญาณมตฺตาย ปฏิสฺสติมตฺตาย ฯ

อนิสฺสิโต จ วิหรติ น จ กิญฺจิ โลเก อุปาทิยติ ฯ

เอวมฺปิ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ ฯ

[๒๘๕]
ปุน จปรํ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
เสยฺยถาปิ ปสฺเสยฺย สรีรํ สีวถิกาย ฉฑฺฑิตํ
อฏฺฐิกานิ เสตานิ สงฺขวณฺณสนฺนิภานิ

โส อิมเมว กายํ อุปสํหรติ
อยมฺปิ โข กาโย เอวํธมฺโม เอวํภาวี เอวํอนตีโตติ ฯ

อิติ อชฺฌตฺตํ วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
พหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
อชฺฌตฺตพหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ
วยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ
สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ ฯ

อตฺถิ กาโยติ วา ปนสฺส สติ ปจฺจุปฏฺฐิตา โหติ
ยาวเทว ญาณมตฺตาย ปฏิสฺสติมตฺตาย ฯ

อนิสฺสิโต จ วิหรติ น จ กิญฺจิ โลเก อุปาทิยติ ฯ

เอวมฺปิ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ ฯ

[๒๘๖]
ปุน จปรํ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
เสยฺยถาปิ ปสฺเสยฺย สรีรํ สีวถิกาย ฉฑฺฑิตํ
อฏฺฐิกานิ ปุญฺชกิตานิ เตโรวสฺสิกานิ ฯ

โส อิมเมว กายํ อุปสํหรติ
อยมฺปิ โข กาโย เอวํธมฺโม เอวํภาวี เอวํอนตีโตติ ฯ

อิติ อชฺฌตฺตํ วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
พหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
อชฺฌตฺตพหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ
วยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ
สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ ฯ

อตฺถิ กาโยติ วา ปนสฺส สติ ปจฺจุปฏฺฐิตา โหติ
ยาวเทว ญาณมตฺตาย ปฏิสฺสติมตฺตาย ฯ

อนิสฺสิโต จ วิหรติ น จ กิญฺจิ โลเก อุปาทิยติ ฯ

เอวมฺปิ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ ฯ

youtube 46:18

[๒๘๗]
ปุน จปรํ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
เสยฺยถาปิ ปสฺเสยฺย สรีรํ สีวถิกาย ฉฑฺฑิตํ
อฏฺฐิกานิ ปูตีนิ จุณฺณกชาตานิ ฯ

โส อิมเมว กายํ
อุปสํหรติ อยมฺปิ โข กาโย เอวํธมฺโม เอวํภาวี เอวํอนตีโตติ ฯ
อิติ อชฺฌตฺตํ วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ พหิทฺธา วา กาเย
กายานุปสฺสี วิหรติ อชฺฌตฺตพหิทฺธา วา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ
สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ วยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ
วิหรติ สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี วา กายสฺมึ วิหรติ ฯ อตฺถิ กาโยติ
วา ปนสฺส สติ ปจฺจุปฏฺฐิตา โหติ ยาวเทว ญาณมตฺตาย
ปฏิสฺสติมตฺตาย ฯ อนิสฺสิโต จ วิหรติ น จ กิญฺจิ โลเก
อุปาทิยติ ฯ เอวมฺปิ โข ภิกฺขเว ภิกฺขุ กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ ฯ
นวสีวถิกาปพฺพํ นิฏฺฐิตํ ฯ
กายานุปสฺสนา นิฏฺฐิตา ฯ

@ ๑ สี. ยุ. สงฺขวณฺณูปนิภานิ ฯ ม. สงฺขวณฺณปฏิภาคานิ ฯ

[๒๘๘] กถญฺจ ภิกฺขเว ภิกฺขุ เวทนาสุ เวทนานุปสฺสี วิหรติ ฯ
อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ สุขํ วา เวทนํ เวทยมาโน สุขํ เวทนํ เวทยามีติ
ปชานาติ ทุกฺขํ วา เวทนํ เวทยมาโน ทุกฺขํ เวทนํ เวทยามีติ
ปชานาติ อทุกฺขมสุขํ วา เวทนํ เวทยมาโน อทุกฺขมสุขํ เวทนํ
เวทยามีติ ปชานาติ สามิสํ วา สุขํ เวทนํ เวทยมาโน สามิสํ
สุขํ เวทนํ เวทยามีติ ปชานาติ นิรามิสํ วา สุขํ เวทนํ เวทยมาโน
นิรามิสํ สุขํ เวทนํ เวทยามีติ ปชานาติ สามิสํ วา ทุกฺขํ เวทนํ
เวทยมาโน สามิสํ ทุกฺขํ เวทนํ เวทยามีติ ปชานาติ นิรามิสํ
วา ทุกฺขํ เวทนํ เวทยมาโน นิรามิสํ ทุกฺขํ เวทนํ เวทยามีติ
ปชานาติ สามิสํ วา อทุกฺขมสุขํ เวทนํ เวทยมาโน สามิสํ
อทุกฺขมสุขํ เวทนํ เวทยามีติ ปชานาติ นิรามิสํ วา อทุกฺขมสุขํ
เวทนํ เวทยมาโน นิรามิสํ อทุกฺขมสุขํ เวทนํ เวทยามีติ ปชานาติ ฯ
อิติ อชฺฌตฺตํ วา เวทนาสุ เวทนานุปสฺสี วิหรติ พหิทฺธา วา
เวทนาสุ เวทนานุปสฺสี วิหรติ อชฺฌตฺตพหิทฺธา วา เวทนาสุ
เวทนานุปสฺสี วิหรติ สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา เวทนาสุ วิหรติ
วยธมฺมานุปสฺสี วา เวทนาสุ วิหรติ สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี วา
เวทนาสุ วิหรติ ฯ อตฺถิ เวทนาติ วา ปนสฺส สติ ปจฺจุปฏฺฐิตา
โหติ ยาวเทว ญาณมตฺตาย ปฏิสฺสติมตฺตาย ฯ อนิสฺสิโต จ วิหรติ
น จ กิญฺจิ โลเก อุปาทิยติ ฯ เอวํ โข ภิกฺขเว ภิกฺขุ เวทนาสุ
เวทนานุปสฺสี วิหรติ ฯ
เวทนานุปสฺสนา นิฏฺฐิตา ฯ

[๒๘๙] กถญฺจ ภิกฺขเว ภิกฺขุ จิตฺเต จิตฺตานุปสฺสี วิหรติ ฯ
อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ สราคํ วา จิตฺตํ สราคํ จิตฺตนฺติ ปชานาติ
วีตราคํ วา จิตฺตํ วีตราคํ จิตฺตนฺติ ปชานาติ สโทสํ วา
จิตฺตํ สโทสํ จิตฺตนฺติ ปชานาติ วีตโทสํ วา จิตฺตํ วีตโทสํ
จิตฺตนฺติ ปชานาติ สโมหํ วา จิตฺตํ สโมหํ จิตฺตนฺติ ปชานาติ
วีตโมหํ วา จิตฺตํ วีตโมหํ จิตฺตนฺติ ปชานาติ สงฺขิตฺตํ วา
จิตฺตํ สงฺขิตฺตํ จิตฺตนฺติ ปชานาติ วิกฺขิตฺตํ วา จิตฺตํ วิกฺขิตฺตํ
จิตฺตนฺติ ปชานาติ มหคฺคตํ วา จิตฺตํ มหคฺคตํ จิตฺตนฺติ
ปชานาติ อมหคฺคตํ วา จิตฺตํ อมหคฺคตํ จิตฺตนฺติ ปชานาติ
สอุตฺตรํ วา จิตฺตํ สอุตฺตรํ จิตฺตนฺติ ปชานาติ อนุตฺตรํ วา
จิตฺตํ อนุตฺตรํ จิตฺตนฺติ ปชานาติ สมาหิตํ วา จิตฺตํ สมาหิตํ
จิตฺตนฺติ ปชานาติ อสมาหิตํ วา จิตฺตํ อสมาหิตํ จิตฺตนฺติ
ปชานาติ วิมุตฺตํ วา จิตฺตํ วิมุตฺตํ จิตฺตนฺติ ปชานาติ อวิมุตฺตํ
วา จิตฺตํ อวิมุตฺตํ จิตฺตนฺติ ปชานาติ ฯ อิติ อชฺฌตฺตํ วา
จิตฺเต จิตฺตานุปสฺสี วิหรติ พหิทฺธา วา จิตฺเต จิตฺตานุปสฺสี
วิหรติ อชฺฌตฺตพหิทฺธา วา จิตฺเต จิตฺตานุปสฺสี วิหรติ สมุทยธมฺมานุปสฺสี
วา จิตฺตสฺมึ วิหรติ วยธมฺมานุปสฺสี วา จิตฺตสฺมึ
วิหรติ สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี วา จิตฺตสฺมึ วิหรติ ฯ อตฺถิ
จิตฺตนฺติ วา ปนสฺส สติ ปจฺจุปฏฺฐิตา โหติ ยาวเทว ญาณมตฺตาย
ปฏิสฺสติมตฺตาย ฯ อนิสฺสิโต จ วิหรติ น จ กิญฺจิ โลเก
อุปาทิยติ ฯ เอวํ โข ภิกฺขเว ภิกฺขุ จิตฺเต จิตฺตานุปสฺสี วิหรติ ฯ
จิตฺตานุปสฺสนา นิฏฺฐิตา ฯ

[๒๙๐] กถญฺจ [๑]- ภิกฺขเว ภิกฺขุ ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ ฯ
อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ ปญฺจสุ นีวรเณสุ ฯ
กถญฺจ ภิกฺขเว ภิกฺขุ ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ ปญฺจสุ นีวรเณสุ ฯ
อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ สนฺตํ วา อชฺฌตฺตํ กามจฺฉนฺทํ อตฺถิ เม
อชฺฌตฺตํ กามจฺฉนฺโทติ ปชานาติ อสนฺตํ วา อชฺฌตฺตํ กามจฺฉนฺทํ
นตฺถิ เม อชฺฌตฺตํ กามจฺฉนฺโทติ ปชานาติ ยถา จ อนุปฺปนฺนสฺส
กามจฺฉนฺทสฺส อุปฺปาโท โหติ ตญฺจ ปชานาติ ยถา จ อุปฺปนฺนสฺส
กามจฺฉนฺทสฺส ปหานํ โหติ ตญฺจ ปชานาติ ยถา จ ปหีนสฺส
กามจฺฉนฺทสฺส อายตึ อนุปฺปาโท โหติ ตญฺจ ปชานาติ ฯ สนฺตํ
วา อชฺฌตฺตํ พฺยาปาทํ อตฺถิ เม อชฺฌตฺตํ พฺยาปาโทติ ปชานาติ
อสนฺตํ วา อชฺฌตฺตํ พฺยาปาทํ นตฺถิ เม อชฺฌตฺตํ พฺยาปาโทติ
ปชานาติ ยถา จ อนุปฺปนฺนสฺส พฺยาปาทสฺส อุปฺปาโท โหติ
ตญฺจ ปชานาติ ยถา จ อุปฺปนฺนสฺส พฺยาปาทสฺส ปหานํ โหติ
ตญฺจ ปชานาติ ยถา จ ปหีนสฺส พฺยาปาทสฺส อายตึ อนุปฺปาโท
โหติ ตญฺจ ปชานาติ ฯ สนฺตํ วา อชฺฌตฺตํ ถีนมิทฺธํ ๒- อตฺถิ
เม อชฺฌตฺตํ ถีนมิทฺธนฺติ ปชานาติ อสนฺตํ วา อชฺฌตฺตํ ถีนมิทฺธํ
นตฺถิ เม อชฺฌตฺตํ ถีนมิทฺธนฺติ ปชานาติ ยถา จ อนุปฺปนฺนสฺส
ถีนมิทฺธสฺส อุปฺปาโท โหติ ตญฺจ ปชานาติ ยถา จ อุปฺปนฺนสฺส
ถีนมิทฺธสฺส ปหานํ โหติ ตญฺจ ปชานาติ ยถา จ ปหีนสฺส
ถีนมิทฺธสฺส อายตึ อนุปฺปาโท โหติ ตญฺจ ปชานาติ ฯ สนฺตํ วา
อชฺฌตฺตํ อุทฺธจฺจกุกฺกุจฺจํ อตฺถิ เม อชฺฌตฺตํ อุทฺธจฺจกุกฺกุจฺจนฺติ
ปชานาติ อสนฺตํ วา อชฺฌตฺตํ อุทฺธจฺจกุกฺกุจฺจํ นตฺถิ เม
อชฺฌตฺตํ อุทฺธจฺจกุกฺกุจฺจนฺติ ปชานาติ ยถา จ อนุปฺปนฺนสฺส
อุทฺธจฺจกุกฺกุจฺจสฺส อุปฺปาโท โหติ ตญฺจ ปชานาติ ยถา จ
อุปฺปนฺนสฺส อุทฺธจฺจกุกฺกุจฺจสฺส ปหานํ โหติ ตญฺจ ปชานาติ
ยถา จ ปหีนสฺส อุทฺธจฺจกุกฺกุจฺจสฺส อายตึ อนุปฺปาโท โหติ
ตญฺจ ปชานาติ ฯ สนฺตํ วา อชฺฌตฺตํ วิจิกิจฺฉํ อตฺถิ เม
อชฺฌตฺตํ วิจิกิจฺฉาติ ปชานาติ อสนฺตํ วา อชฺฌตฺตํ วิจิกิจฺฉํ
นตฺถิ เม อชฺฌตฺตํ วิจิกิจฺฉาติ ปชานาติ ยถา จ อนุปฺปนฺนาย
วิจิกิจฺฉาย อุปฺปาโท โหติ ตญฺจ ปชานาติ ยถา จ อุปฺปนฺนาย
วิจิกิจฺฉาย ปหานํ โหติ ตญฺจ ปชานาติ ยถา จ ปหีนาย
วิจิกิจฺฉาย อายตึ อนุปฺปาโท โหติ ตญฺจ ปชานาติ ฯ อิติ
อชฺฌตฺตํ วา ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ พหิทฺธา วา ธมฺเมสุ
ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ อชฺฌตฺตพหิทฺธา วา ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี
วิหรติ สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา ธมฺเมสุ วิหรติ วยธมฺมานุปสฺสี
วา ธมฺเมสุ วิหรติ สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี วา ธมฺเมสุ วิหรติ ฯ
อตฺถิ ธมฺมาติ วา ปนสฺส สติ ปจฺจุปฏฺฐิตา โหติ ยาวเทว
ญาณมตฺตาย ปฏิสฺสติ มตฺตาย ฯ อนิสฺสิโต จ วิหรติ น จ
กิญฺจิ โลเก อุปาทิยติ ฯ เอวมฺปิ โข ภิกฺขเว ภิกฺขุ ธมฺเมสุ
ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ ปญฺจสุ นีวรเณสุ ฯ
นีวรณปพฺพํ นิฏฺฐิตํ ฯ
@ ๑ ม. สพฺพตฺถ ปน สทฺโท ทิสฺสติ ฯ ๒ ม. ถินมิทฺธํ ฯ สพฺพตฺถ เอวํ ญาตพฺพํ ฯ

[๒๙๑] ปุน จปรํ ภิกฺขเว ภิกฺขุ ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ
ปญฺจสุ อุปาทานกฺขนฺเธสุ ฯ กถญฺจ ภิกฺขเว ภิกฺขุ ธมฺเมสุ
ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ ปญฺจสุ อุปาทานกฺขนฺเธสุ ฯ อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
อิติ รูปํ อิติ รูปสฺส สมุทโย อิติ รูปสฺส อตฺถงฺคโม อิติ
เวทนา อิติ เวทนาย สมุทโย อิติ เวทนาย อตฺถงฺคโม อิติ
สญฺญา อิติ สญฺญาย สมุทโย อิติ สญฺญาย อตฺถงฺคโม
อิติ สงฺขารา อิติ สงฺขารานํ สมุทโย อิติ สงฺขารานํ อตฺถงฺคโม
อิติ วิญฺญาณํ อิติ วิญฺญาณสฺส สมุทโย อิติ วิญฺญาณสฺส
อตฺถงฺคโมติ ฯ อิติ อชฺฌตฺตํ วา ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ
พหิทฺธา วา ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ อชฺฌตฺตพหิทฺธา วา
ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา ธมฺเมสุ
วิหรติ วยธมฺมานุปสฺสี วา ธมฺเมสุ วิหรติ สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี
วา ธมฺเมสุ วิหรติ ฯ อตฺถิ ธมฺมาติ วา ปนสฺส สติ ปจฺจุปฏฺฐิตา
โหติ ยาวเทว ญาณมตฺตาย ปฏิสฺสติมตฺตาย ฯ อนิสฺสิโต จ
วิหรติ น จ กิญฺจิ โลเก อุปาทิยติ ฯ เอวมฺปิ โข ภิกฺขเว
ภิกฺขุ ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ ปญฺจสุ อุปาทานกฺขนฺเธสุ ฯ
ขนฺธปพฺพํ นิฏฺฐิตํ ฯ

[๒๙๒] ปุน จปรํ ภิกฺขเว ภิกฺขุ ธมฺเมสุ ธมฺมาปสฺสี วิหรติ
ฉสุ อชฺฌตฺติกพาหิเรสุ อายตเนสุ ฯ กถญฺจ ภิกฺขเว ภิกฺขุ
ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ ฉสุ อชฺฌตฺติกพาหิเรสุ อายตเนสุ ฯ
อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ จกฺขุญฺจ ปชานาติ รูเป จ ปชานาติ ยญฺจ
ตทุภยํ ปฏิจฺจ อุปฺปชฺชติ สญฺโญชนํ ๑- ตญฺจ ปชานาติ ยถา จ
อนุปฺปนฺนสฺส สญฺโญชนสฺส อุปฺปาโท โหติ ตญฺจ ปชานาติ
ยถา จ อุปฺปนฺนสฺส สญฺโญชนสฺส ปหานํ โหติ ตญฺจ ปชานาติ
ยถา จ ปหีนสฺส สญฺโญชนสฺส อายตึ อนุปฺปาโท โหติ ตญฺจ
ปชานาติ ฯ โสตญฺจ ปชานาติ สทฺเท จ ปชานาติ ฯ ฆานญฺจ
ปชานาติ คนฺเธ จ ปชานาติ ฯ ชิวฺหญฺจ ปชานาติ รเส จ
ปชานาติ ฯ กายญฺจ ปชานาติ โผฏฺฐพฺเพ จ ปชานาติ ฯ
มนญฺจ ปชานาติ ธมฺเม จ ปชานาติ ยญฺจ ตทุภยํ ปฏิจฺจ
อุปฺปชฺชติ สญฺโญชนํ ตญฺจ ปชานาติ ยถา จ อนุปฺปนฺนสฺส
สญฺโญชนสฺส อุปฺปาโท โหติ ตญฺจ ปชานาติ ยถา จ
อุปฺปนฺนสฺส สญฺโญชนสฺส ปหานํ โหติ ตญฺจ ปชานาติ ยถา จ
ปหีนสฺส สญฺโญชนสฺส อายตึ อนุปฺปาโท โหติ ตญฺจ ปชานาติ จ
อิติ อชฺฌตฺตํ วา ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ พหิทฺธา วา ธมฺเมสุ
ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ อชฺฌตฺตพหิทฺธา วา ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี
วิหรติ สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา ธมฺเมสุ วิหรติ วยธมฺมานุปสฺสี
วา ธมฺเมสุ วิหรติ สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี วา ธมฺเมสุ วิหรติ ฯ
อตฺถิ ธมฺมาติ วา ปนสฺส สติ ปจฺจุปฏฺฐิตา โหติ ยาวเทว
ญาณมตฺตาย ปฏิสฺสติมตฺตาย ฯ อนิสฺสิโต จ วิหรติ น จ
กิญฺจิ โลเก อุปาทิยติ ฯ เอวมฺปิ โข ภิกฺขเว ภิกฺขุ ธมฺเมสุ
ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ ฉสุ อชฺฌตฺติกพาหิเรสุ อายตเนสุ ฯ
อายตนปพฺพํ นิฏฺฐิตํ ฯ

@ ๑ ม. สํโญชนํ ฯ เอวมุปริปิ ฯ
[๒๙๓] ปุน จปรํ ภิกฺขเว ภิกฺขุ ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ
สตฺตสุ โพชฺฌงฺเคสุ ฯ กถญฺจ ภิกฺขเว ภิกฺขุ ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี
วิหรติ สตฺตสุ โพชฺฌงฺเคสุ ฯ อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ สนฺตํ วา
อชฺฌตฺตํ สติสมฺโพชฺฌงฺคํ อตฺถิ เม อชฺฌตฺตํ สติสมฺโพชฺฌงฺโคติ
ปชานาติ อสนฺตํ วา อชฺฌตฺตํ สติสมฺโพชฺฌงฺคํ นตฺถิ เม
อชฺฌตฺตํ สติสมฺโพชฺฌงฺโคติ ปชานาติ ยถา จ อนุปฺปนฺนสฺส
สติสมฺโพชฺฌงฺคสฺส อุปฺปาโท โหติ ตญฺจ ปชานาติ ยถา จ
อุปฺปนฺนสฺส สติสมฺโพชฺฌงฺคสฺส ภาวนาปาริปูริ ๑- โหติ ตญฺจ
ปชานาติ ฯ สนฺตํ วา อชฺฌตฺตํ ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺคํ ฯเปฯ
สนฺตํ วา อชฺฌตฺตํ วิริยสมฺโพชฺฌงฺคํ ฯเปฯ สนฺตํ วา อชฺฌตฺตํ
ปีติสมฺโพชฺฌงฺคํ ฯเปฯ สนฺตํ วา อชฺฌตฺตํ ปสฺสทฺธิสมฺโพชฺฌงฺคํ ฯเปฯ
สนฺตํ วา อชฺฌตฺตํ สมาธิสมฺโพชฺฌงฺคํ ฯเปฯ สนฺตํ วา
อชฺฌตฺตํ อุเปกฺขาสมฺโพชฺฌงฺคํ อตฺถิ เม อชฺฌตฺตํ อุเปกฺขาสมฺโพชฺฌงฺโคติ
ปชานาติ อสนฺตํ วา อชฺฌตฺตํ อุเปกฺขาสมฺโพชฺฌงฺคํ
นตฺถิ เม อชฺฌตฺตํ อุเปกฺขาสมฺโพชฺฌงฺโคติ ปชานาติ ยถา จ
อนุปฺปนฺนสฺส อุเปกฺขาสมฺโพชฺฌงฺคสฺส อุปฺปาโท โหติ ตญฺจ
ปชานาติ ยถา จ อุปฺปนฺนสฺส อุเปกฺขาสมฺโพชฺฌงฺคสฺส
ภาวนาปาริปูริ โหติ ตญฺจ ปชานาติ ฯ อิติ อชฺฌตฺตํ วา
ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ พหิทฺธา วา ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี
วิหรติ อชฺฌตฺตพหิทฺธา วา ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ
สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา ธมฺเมสุ วิหรติ วยธมฺมานุปสฺสี วา ธมฺเมสุ
วิหรติ สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี วา ธมฺเมสุ วิหรติ ฯ อตฺถิ ธมฺมาติ
วา ปนสฺส สติ ปจฺจุปฏฺฐิตา โหติ ยาวเทว ญาณมตฺตาย
ปฏิสฺสติมตฺตาย ฯ อนิสฺสิโต จ วิหรติ น จ กิญฺจิ โลเก
อุปาทิยติ ฯ เอวมฺปิ โข ภิกฺขเว ภิกฺขุ ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี
วิหรติ สตฺตสุ โพชฺฌงฺเคสุ ฯ
โพชฺฌงฺคปพฺพํ นิฏฺฐิตํ ฯ
ปฐมภาณวารํ ฯ

@ ๑ ม. สพฺพตฺถ ภาวนาปาริปูรี ฯ

[๒๙๔] ปุน จปรํ ภิกฺขเว ภิกฺขุ ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ
จตูสุ อริยสจฺเจสุ ฯ กถญฺจ ภิกฺขเว ภิกฺขุ ธมฺเมสุ
ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ จตูสุ อริยสจฺเจสุ ฯ อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ อิทํ
ทุกฺขนฺติ ยถาภูตํ ปชานาติ อยํ ทุกฺขสมุทโยติ ยถาภูตํ ปชานาติ
อยํ ทุกฺขนิโรโธติ ยถาภูตํ ปชานาติ อยํ ทุกฺขนิโรธคามินี
ปฏิปทาติ ยถาภูตํ ปชานาติ [๑]- ฯ
กตมญฺจ ภิกฺขเว ทุกฺขํ อริยสจฺจํ ฯ
ชาติปิ ทุกฺขา ชราปิ ทุกฺขา มรณมฺปิ ทุกฺขํ โสกปริเทวทุกฺขโทมนสฺสุปายาสาปิ
ทุกฺขา อปฺปิเยหิ สมฺปโยโคปิ ทุกฺโข ปิเยหิ
วิปฺปโยโคปิ ทุกฺโข ยมฺปิจฺฉํ น ลภติ ตมฺปิ ทุกฺขํ สงฺขิตฺเตน
ปญฺจุปาทานกฺขนฺธา ทุกฺขา ฯ

@ ๑ ม. ปฐมภาณวาโร นิฏฺฐิโต ฯ

[๒๙๕] กตมา จ ภิกฺขเว ชาติ ฯ ยา เตสํ เตสํ สตฺตานํ
ตมฺหิ ตมฺหิ สตฺตนิกาเย ชาติ สญฺชาติ โอกฺกนฺติ นิพฺพตฺติ ๑-
อภินิพฺพตฺติ ขนฺธานํ ปาตุภาโว อายตนานํ ปฏิลาโภ อยํ วุจฺจติ
ภิกฺขเว ชาติ ฯ กตมา จ ภิกฺขเว ชรา ฯ ยา เตสํ เตสํ สตฺตานํ
ตมฺหิ ตมฺหิ สตฺตนิกาเย ชรา ชีรณตา ขณฺฑิจฺจํ ปาลิจฺจํ วลิตจตา ๒-
อายุโน สํหานิ อินฺทฺริยานํ ปริปาโก อยํ วุจฺจติ ภิกฺขเว ชรา ฯ
กตมญฺจ ภิกฺขเว มรณํ ฯ ยา ๓- เตสํ เตสํ สตฺตานํ ตมฺหา ตมฺหา
สตฺตนิกายา จุติ จวนตา เภโท อนฺตรธานํ มจฺจุ มรณํ กาลกิริยา
ขนฺธานํ เภโท กเฬวรสฺส นิกฺเขโป ชีวิตินฺทฺริยสฺส อุปจฺเฉโท อิทํ
วุจฺจติ ภิกฺขเว มรณํ ฯ กตโม จ ภิกฺขเว โสโก ฯ โย โข ภิกฺขเว
อญฺญตรญฺญตเรน พฺยสเนน สมนฺนาคตสฺส อญฺญตรญฺญตเรน
ทุกฺขธมฺเมน ผุฏฺฐสฺส โสโก โสจนา โสจิตตฺตํ อนฺโตโสโก
อนฺโตปริโสโก อยํ วุจฺจติ ภิกฺขเว โสโก ฯ กตโม จ ภิกฺขเว
ปริเทโว ฯ โย โข ภิกฺขเว อญฺญตรญฺญตเรน พฺยสเนน สมนฺนาคตสฺส
อญฺญตรญฺญตเรน ทุกฺขธมฺเมน ผุฏฺฐสฺส อาเทโว ปริเทโว อาเทวนา
ปริเทวนา อาเทวิตตฺตํ ปริเทวิตตฺตํ อยํ วุจฺจติ ภิกฺขเว ปริเทโว ฯ
@ ๑ ม. อยํ ปาโฐ นตฺถิ ฯ ๒ วลิตฺตจตาติปิ ปาโฐ ฯ ๓ ม. ยํ ฯ
กตมญฺจ ภิกฺขเว ทุกฺขํ ฯ ยํ โข ภิกฺขเว กายิกํ ทุกฺขํ กายิกํ
อสาตํ กายสมฺผสฺสชํ ทุกฺขํ อสาตํ เวทยิตํ อิทํ วุจฺจติ ภิกฺขเว
ทุกฺขํ ฯ กตมญฺจ ภิกฺขเว โทมนสฺสํ ฯ ยํ โข ภิกฺขเว เจตสิกํ
ทุกฺขํ เจตสิกํ อสาตํ มโนสมฺผสฺสชํ ๑- ทุกฺขํ อสาตํ เวทยิตํ อิทํ
วุจฺจติ ภิกฺขเว โทมนสฺสํ ฯ กตโม จ ภิกฺขเว อุปายาโส ฯ
โย โข ภิกฺขเว อญฺญตรญฺญตเรน พฺยสเนน สมนฺนาคตสฺส
อญฺญตรญฺญตเรน ทุกฺขธมฺเมน ผุฏฺฐสฺส อายาโส อุปายาโส
อายาสิตตฺตํ อุปายาสิตตฺตํ อยํ วุจฺจติ ภิกฺขเว อุปายาโส ฯ
กตโม [๒]- จ ภิกฺขเว อปฺปิเยหิ สมฺปโยโค ทุกฺโข ฯ อิธ ยสฺส เต
โหนฺติ อนิฏฺฐา อกนฺตา อมนาปา รูปา สทฺทา คนฺธา รสา
โผฏฺฐพฺพา [๓]- เย วา ปนสฺส โหนฺติ อนตฺถกามา อหิตกามา
อผาสุกกามา อโยคกฺเขมกามา เตสํ ๔- สงฺคติ สมาคโม สโมธานํ
มิสฺสีภาโว อยํ วุจฺจติ ภิกฺขเว อปฺปิเยหิ สมฺปโยโค ทุกฺโข ฯ
กตโม จ ภิกฺขเว ปิเยหิ วิปฺปโยโค ทุกฺโข ฯ อิธ ยสฺส เต
โหนฺติ อิฏฺฐา กนฺตา มนาปา รูปา สทฺทา คนฺธา รสา โผฏฺฐพฺพา
เย วา ปนสฺส โหนฺติ อตฺถกามา หิตกามา ผาสุกกามา โยคกฺเขมกามา
มาตา วา ปิตา วา ภาตา วา ภคินี วา มิตฺตา วา อมจฺจา
วา ญาติสาโลหิตา วา เตสํ อสงฺคติ อสมาคโม อสโมธานํ
อมิสฺสีภาโว อยํ วุจฺจติ ภิกฺขเว ปิเยหิ วิปฺปโยโค ทุกฺโข ๒- ฯ

@ ๑ เจโตสมฺผสฺสชนฺติ วา ปาโฐ ฯ ๒-๒ ยุ. อิเม ปาฐา นตฺถิ ฯ ๓ ม. ธมฺมา ฯ
@ อิโต ปรํ อีทิสเมว ฯ ๔ ม. ยา เตหิ สทฺธึ สงฺคติ ... อิโต ปรํ อีทิสเมว ฯ

กตมญฺจ ภิกฺขเว ยมฺปิจฺฉํ น ลภติ ตมฺปิ ทุกฺขํ ฯ ชาติธมฺมานํ
ภิกฺขเว สตฺตานํ เอวํ อิจฺฉา อุปฺปชฺชติ อโห วต มยํ น
ชาติธมฺมา อสฺสาม น จ วต โน ชาติ อาคจฺเฉยฺยาติ น
โข ปเนตํ อิจฺฉาย ปตฺตพฺพํ อิทมฺปิ ยมฺปิจฺฉํ น ลภติ ตมฺปิ
ทุกฺขํ ฯ ชราธมฺมานํ ภิกฺขเว สตฺตานํ ฯ พฺยาธิธมฺมานํ ภิกฺขเว
สตฺตานํ ฯ มรณธมฺมานํ ภิกฺขเว สตฺตานํ ฯ โสกปริเทวทุกฺข-
โทมนสฺสุปายาสธมฺมานํ ภิกฺขเว สตฺตานํ เอวํ อิจฺฉา อุปฺปชฺชติ
อโห วต มยํ น โสกปริเทวทุกฺขโทมนสฺสุปายาสธมฺมา อสฺสาม
น จ วต โน โสกปริเทวทุกฺขโทมนสฺสุปายาสา อาคจฺเฉยฺยุนฺติ
น โข ปเนตํ อิจฺฉาย ปตฺตพฺพํ อิทมฺปิ ยมฺปิจฺฉํ น ลภติ
ตมฺปิ ทุกฺขํ ฯ กตเม จ ภิกฺขเว สงฺขิตฺเตน ปญฺจุปาทานกฺขนฺธา
ทุกฺขา ฯ เสยฺยถีทํ รูปูปาทานกฺขนฺโธ ๑- เวทนูปาทานกฺขนฺโธ
สญฺญูปาทานกฺขนฺโธ สงฺขารูปาทานกฺขนฺโธ วิญฺญาณูปาทานกฺขนฺโธ
อิเม วุจฺจนฺติ ภิกฺขเว สงฺขิตฺเตน ปญฺจุปาทานกฺขนฺธา ทุกฺขา ฯ
อิทํ วุจฺจติ ภิกฺขเว ทุกฺขํ อริยสจฺจํ ฯ

[๒๙๖] กตมญฺจ ภิกฺขเว ทุกฺขสมุทโย ๒- อริยสจฺจํ ฯ ยายํ ตณฺหา
โปโนพฺภวิกา ๓- นนฺทิราคสหคตา ตตฺรตตฺราภินนฺทินี เสยฺยถีทํ
กามตณฺหา ภวตณฺหา วิภวตณฺหา ฯ

@ ๑ ม. รูปุปาทานกฺขนฺโธ ... วิญฺญาณุปา ... ฯ ๒ ม. ทุกฺขสมุทยํ ฯ ๓ สี. ยุ. โปโนภวิกา ฯ

[๒๙๗] สา โข ปเนสา ภิกฺขเว ตณฺหา กตฺถ อุปฺปชฺชมานา
อุปฺปชฺชติ กตฺถ นิวิสมานา นิวิสติ ฯ ยํ โลเก ปิยรูปํ สาตรูปํ
เอตฺเถสา ตณฺหา อุปฺปชฺชมานา อุปฺปชฺชติ เอตฺถ นิวิสมานา
นิวิสติ ฯ กิญฺจ โลเก ปิยรูปํ สาตรูปํ ฯ จกฺขุํ โลเก ปิยรูปํ
สาตรูปํ เอตฺเถสา ตณฺหา อุปฺปชฺชมานา อุปฺปชฺชติ เอตฺถ
นิวิสมานา นิวิสติ ฯ โสตํ โลเก ฯ ฆานํ โลเก ฯ ชิวฺหา
โลเก ฯ กาโย โลเก ฯ มโน โลเก ปิยรูปํ สาตรูปํ เอตฺเถสา
ตณฺหา อุปฺปชฺชมานา อุปฺปชฺชติ เอตฺถ นิวิสมานา นิวิสติ ฯ
รูปา โลเก ฯ สทฺทา โลเก ฯ คนฺธา โลเก ฯ รสา โลเก ฯ
โผฏฺฐพฺพา โลเก ฯ ธมฺมา โลเก ปิยรูปํ สาตรูปํ เอตฺเถสา
ตณฺหา อุปฺปชฺชมานา อุปฺปชฺชติ เอตฺถ นิวิสมานา นิวิสติ ฯ
จกฺขุวิญฺญาณํ โลเก ฯ โสตวิญฺญาณํ โลเก ฯ ฆานวิญฺญาณํ โลเก ฯ
ชิวฺหาวิญฺญาณํ โลเก ฯ กายวิญฺญาณํ โลเก ฯ มโนวิญฺญาณํ
โลเก ปิยรูปํ สาตรูปํ เอตฺเถสา ตณฺหา อุปฺปชฺชมานา อุปฺปชฺชติ
เอตฺถ นิวิสมานา นิวิสติ ฯ จกฺขุสมฺผสฺโส โลเก ฯ โสตสมฺผสฺโส
โลเก ฯ ฆานสมฺผสฺโส โลเก ฯ ชิวฺหาสมฺผสฺโส โลเก ฯ
กายสมฺผสฺโส โลเก ฯ มโนสมฺผสฺโส โลเก ปิยรูปํ สาตรูปํ เอตฺเถสา
ตณฺหา อุปฺปชฺชมานา อุปฺปชฺชติ เอตฺถ นิวิสมานา นิวิสติ ฯ
จกฺขุสมฺผสฺสชา เวทนา โลเก ฯ โสตสมฺผสฺสชา เวทนา โลเก ฯ
ฆานสมฺผสฺสชา เวทนา โลเก ฯ ชิวฺหาสมฺผสฺสชา เวทนา โลเก ฯ
กายสมฺผสฺสชา เวทนา โลเก ฯ มโนสมฺผสฺสชา เวทนา โลเก
ปิยรูปํ สาตรูปํ เอตฺเถสา ตณฺหา อุปฺปชฺชมานา อุปฺปชฺชติ
เอตฺถ นิวิสมานา นิวิสติ ฯ รูปสญฺญา โลเก ฯ สทฺทสญฺญา
โลเก ฯ คนฺธสญฺญา โลเก ฯ รสสญฺญา โลเก ฯ โผฏฺฐพฺพสญฺญา
โลเก ฯ ธมฺมสญฺญา โลเก ปิยรูปํ สาตรูปํ เอตฺเถสา
ตณฺหา อุปฺปชฺชมานา อุปฺปชฺชติ เอตฺถ นิวิสมานา นิวิสติ ฯ
รูปสญฺเจตนา โลเก ฯ สทฺทสญฺเจตนา โลเก ฯ คนฺธสญฺเจตนา
โลเก ฯ รสสญฺเจตนา โลเก ฯ โผฏฺฐพฺพสญฺเจตนา โลเก ฯ
ธมฺมสญฺเจตนา โลเก ปิยรูปํ สาตรูปํ เอตฺเถสา ตณฺหา อุปฺปชฺชมานา
อุปฺปชฺชติ เอตฺถ นิวิสมานา นิวิสติ ฯ รูปตณฺหา โลเก ฯ
สทฺทตณฺหา โลเก ฯ คนฺธตณฺหา โลเก ฯ รสตณฺหา โลเก ฯ
โผฏฺฐพฺพตณฺหา โลเก ฯ ธมฺมตณฺหา โลเก ปิยรูปํ สาตรูปํ
เอตฺเถสา ตณฺหา อุปฺปชฺชมานา อุปฺปชฺชติ เอตฺถ นิวิสมานา
นิวิสติ ฯ รูปวิตกฺโก โลเก ฯ สทฺทวิตกฺโก โลเก ฯ คนฺธวิตกฺโก
โลเก ฯ รสวิตกฺโก โลเก ฯ โผฏฺฐพฺพวิตกฺโก โลเก ฯ
ธมฺมวิตกฺโก โลเก ปิยรูปํ สาตรูปํ เอตฺเถสา ตณฺหา อุปฺปชฺชมานา
อุปฺปชฺชติ เอตฺถ นิวิสมานา นิวิสติ ฯ รูปวิจาโร โลเก ฯ
สทฺทวิจาโร โลเก ฯ คนฺธวิจาโร โลเก ฯ รสวิจาโร โลเก ฯ
โผฏฺฐพฺพวิจาโร โลเก ฯ ธมฺมวิจาโร โลเก ปิยรูปํ สาตรูปํ
เอตฺเถสา ตณฺหา อุปฺปชฺชมานา อุปฺปชฺชติ เอตฺถ นิวิสมานา
นิวิสติ ฯ อิทํ วุจฺจติ ภิกฺขเว ทุกฺขสมุทโย อริยสจฺจํ ฯ

[๒๙๘] กตมญฺจ ภิกฺขเว ทุกฺขนิโรโธ ๑- อริยสจฺจํ ฯ โย
@ ๑ ม. ทุกฺขนิโรธํ ฯ
ตสฺสาเยว ตณฺหาย อเสสวิราคนิโรโธ จาโค ปฏินิสฺสคฺโค มุตฺติ
อนาลโย ฯ สา โข ปเนสา ภิกฺขเว ตณฺหา กตฺถ ปหียมานา
ปหียติ กตฺถ นิรุชฺฌมานา นิรุชฺฌติ ฯ ยํ โลเก ปิยรูปํ
สาตรูปํ เอตฺเถสา ตณฺหา ปหียมานา ปหียติ เอตฺถ นิรุชฺฌมานา
นิรุชฺฌติ ฯ กิญฺจ โลเก ปิยรูปํ สาตรูปํ ฯ จกฺขุํ โลเก
ปิยรูปํ สาตรูปํ เอตฺเถสา ตณฺหา ปหียมานา ปหียติ เอตฺถ
นิรุชฺฌมานา นิรุชฺฌติ ฯ โสตํ โลเก ฯ ฆานํ โลเก ฯ ชิวฺหา
โลเก ฯ กาโย โลเก ฯ มโน โลเก ปิยรูปํ สาตรูปํ เอตฺเถสา
ตณฺหา ปหียมานา ปหียติ เอตฺถ นิรุชฺฌมานา นิรุชฺฌติ ฯ รูปา
โลเก ฯ สทฺทา โลเก ฯ คนฺธา โลเก ฯ รสา โลเก ฯ โผฏฺฐพฺพา
โลเก ฯ ธมฺมา โลเก ปิยรูปํ สาตรูปํ เอตฺเถสา ตณฺหา
ปหียมานา ปหียติ เอตฺถ นิรุชฺฌมานา นิรุชฺฌติ ฯ จกฺขุวิญฺญาณํ
โลเก ฯ โสตวิญฺญาณํ โลเก ฯ ฆานวิญฺญาณํ โลเก ฯ
ชิวฺหาวิญฺญาณํ โลเก ฯ กายวิญฺญาณํ โลเก ฯ มโนวิญฺญาณํ
โลเก ปิยรูปํ สาตรูปํ เอตฺเถสา ตณฺหา ปหียมานา ปหียติ
เอตฺถ นิรุชฺฌมานา นิรุชฺฌติ ฯ จกฺขุสมฺผสฺโส โลเก ฯ
โสตสมฺผสฺโส โลเก ฯ ฆานสมฺผสฺโส โลเก ฯ ชิวฺหาสมฺผสฺโส
โลเก ฯ กายสมฺผสฺโส โลเก ฯ มโนสมฺผสฺโส โลเก ปิยรูปํ
สาตรูปํ เอตฺเถสา ตณฺหา ปหียมานา ปหียติ เอตฺถ นิรุชฺฌมานา
นิรุชฺฌติ ฯ จกฺขุสมฺผสฺสชา เวทนา โลเก ฯ โสตสมฺผสฺสชา เวทนา
โลเก ฯ ฆานสมฺผสฺสชา เวทนา โลเก ฯ ชิวฺหาสมฺผสฺสชา เวทนา
โลเก ฯ กายสมฺผสฺสชา เวทนา โลเก ฯ มโนสมฺผสฺสชา เวทนา
โลเก ปิยรูปํ สาตรูปํ เอตฺเถสา ตณฺหา ปหียมานา ปหียติ
เอตฺถ นิรุชฺฌมานา นิรุชฺฌติ ฯ รูปสญฺญา โลเก ฯ สทฺทสญฺญา
โลเก ฯ คนฺธสญฺญา โลเก ฯ รสสญฺญา โลเก ฯ โผฏฺฐพฺพสญฺญา
โลเก ฯ ธมฺมสญฺญา โลเก ปิยรูปํ สาตรูปํ เอตฺเถสา
ตณฺหา ปหียมานา ปหียติ เอตฺถ นิรุชฺฌมานา นิรุชฺฌติ ฯ
รูปสญฺญเจตนา โลเก ฯ สทฺทสญฺเจตนา โลเก ฯ คนฺธสญฺเจตนา
โลเก ฯ รสสญฺเจตนา โลเก ฯ โผฏฺฐพฺพสญฺเจตนา โลเก ฯ
ธมฺมสญฺญเจตนา โลเก ปิยรูปํ สาตรูปํ เอตฺเถสา ตณฺหา
ปหียมานา ปหียติ เอตฺถ นิรุชฺฌมานา นิรุชฺฌติ ฯ รูปตณฺหา
โลเก ฯ สทฺทตณฺหา โลเก ฯ คนฺธตณฺหา โลเก ฯ รสตณฺหา
โลเก ฯ โผฏฺฐพฺพตณฺหา โลเก ฯ ธมฺมตณฺหา โลเก ปิยรูปํ
สาตรูปํ เอตฺเถสา ตณฺหา ปหียมานา ปหียติ เอตฺถ
นิรุชฺฌมานา นิรุชฺฌติ ฯ รูปวิตกฺโก โลเก ฯ สทฺทวิตกฺโก โลเก ฯ
คนฺธวิตกฺโก โลเก ฯ รสวิตกฺโก โลเก ฯ โผฏฺฐพฺพวิตกฺโก
โลเก ฯ ธมฺมวิตกฺโก โลเก ปิยรูปํ สาตรูปํ เอตฺเถสา ตณฺหา
ปหียมานา ปหียติ เอตฺถ นิรุชฺฌมานา นิรุชฺฌติ ฯ รูปวิจาโร
โลเก ฯ สทฺทวิจาโร โลเก ฯ คนฺธวิจาโร โลเก ฯ รสวิจาโร
โลเก ฯ โผฏฺฐพฺพวิจาโร โลเก ฯ ธมฺมวิจาโร โลเก ปิยรูปํ
สาตรูปํ เอตฺเถสา ตณฺหา ปหียมานา ปหียติ เอตฺถ นิรุชฺฌมานา
นิรุชฺฌติ ฯ อิทํ วุจฺจติ ภิกฺขเว ทุกฺขนิโรโธ อริยสจฺจํ ฯ

[๒๙๙] กตมญฺจ ภิกฺขเว ทุกฺขนิโรธคามินี ปฏิปทา อริยสจฺจํ ฯ
อยเมว อริโย อฏฺฐงฺคิโก มคฺโค เสยฺยถีทํ สมฺมาทิฏฺฐิ
สมฺมาสงฺกปฺโป สมฺมาวาจา สมฺมากมฺมนฺโต สมฺมาอาชีโว
สมฺมาวายาโม สมฺมาสติ สมฺมาสมาธิ ฯ กตมา จ ภิกฺขเว
สมฺมาทิฏฺฐิ ฯ ยํ โข ภิกฺขเว ทุกฺเข ญาณํ ทุกฺขสมุทเย ญาณํ
ทุกฺขนิโรเธ ญาณํ ทุกฺขนิโรธคามินิยา ปฏิปทาย ญาณํ อยํ วุจฺจติ
ภิกฺขเว สมฺมาทิฏฺฐิ ฯ กตโม จ ภิกฺขเว สมฺมาสงฺกปฺโป ฯ
เนกฺขมฺมสงฺกปฺโป อพฺยาปาทสงฺกปฺโป อวิหึสาสงฺกปฺโป อยํ วุจฺจติ
ภิกฺขเว สมฺมาสงฺกปฺโป ฯ กตมา จ ภิกฺขเว สมฺมาวาจา ฯ
มุสาวาทา เวรมณี ปิสุณาย วาจาย เวรมณี ผรุสาย วาจาย
เวรมณี สมฺผปฺปลาปา เวรมณี อยํ วุจฺจติ ภิกฺขเว
สมฺมาวาจา ฯ กตโม จ ภิกฺขเว สมฺมากมฺมนฺโต ฯ ปาณาติปาตา
เวรมณี อทินฺนาทานา เวรมณี กาเมสุ มิจฺฉาจารา เวรมณี
อยํ วุจฺจติ ภิกฺขเว สมฺมากมฺมนฺโต ฯ กตโม จ ภิกฺขเว
สมฺมาอาชีโว ฯ อิธ ภิกฺขเว อริยสาวโก มิจฺฉาอาชีวํ ปหาย
สมฺมาอาชีเวน ชีวิกํ กปฺเปติ อยํ วุจฺจติ ภิกฺขเว สมฺมาอาชีโว ฯ
กตโม จ ภิกฺขเว สมฺมาวายาโม ฯ อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ อนุปฺปนฺนานํ
ปาปกานํ อกุสลานํ ธมฺมานํ อนุปฺปาทาย ฉนฺทํ ชเนติ วายมติ
วิริยํ อารภติ จิตฺตํ ปคฺคณฺหาติ ปทหติ อุปฺปนฺนานํ ปาปกานํ
อกุสลานํ ธมฺมานํ ปหานาย ฉนฺทํ ชเนติ วายมติ วิริยํ อารภติ
จิตฺตํ ปคฺคณฺหาติ ปทหติ อนุปฺปนฺนานํ กุสลานํ ธมฺมานํ
อุปฺปาทาย ฉนฺทํ ชเนติ วายมติ วิริยํ อารภติ จิตฺตํ ปคฺคณฺหาติ
ปทหติ อุปฺปนฺนานํ กุสลานํ ธมฺมานํ ฐิติยา อสมฺโมสาย
ภิยฺโยภาวาย เวปุลฺลาย ภาวนาย ปาริปูริยา ฉนฺทํ ชเนติ วายมติ
วิริยํ อารภติ จิตฺตํ ปคฺคณฺหาติ ปทหติ ฯ อยํ วุจฺจติ ภิกฺขเว
สมฺมาวายาโม ฯ กตมา จ ภิกฺขเว สมฺมาสติ ฯ อิธ ภิกฺขเว
ภิกฺขุ กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ อาตาปี สมฺปชาโน สติมา
วิเนยฺย โลเก อภิชฺฌาโทมนสฺสํ เวทนาสุ เวทนานุปสฺสี วิหรติ ฯเปฯ
จิตฺเต ฯเปฯ ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ อาตาปี
สมฺปชาโน สติมา วิเนยฺย โลเก อภิชฺฌาโทมนสฺสํ ฯ อยํ วุจฺจติ
ภิกฺขเว สมฺมาสติ ฯ กตโม จ ภิกฺขเว สมฺมาสมาธิ ฯ อิธ
ภิกฺขเว ภิกฺขุ วิวิจฺเจว กาเมหิ วิวิจฺจ อกุสเลหิ ธมฺเมหิ สวิตกฺกํ
สวิจารํ วิเวกชํ ปีติสุขํ ปฐมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ
วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา อชฺฌตฺตํ สมฺปสาทนํ เจตโส เอโกทิภาวํ
อวิตกฺกํ อวิจารํ สมาธิชํ ปีติสุขํ ทุติยํ ฌานํ ฯเปฯ ตติยํ ฌานํ
อุปสมฺปชฺช วิหรติ สุขสฺส จ ปหานา ทุกฺขสฺส จ ปหานา
ปุพฺเพ ว โสมนสฺสโทมนสฺสานํ อตฺถงฺคมา อทุกฺขมสุขํ อุเปกฺขาสติปาริสุทฺธึ
จตุตฺถํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ ฯ อยํ วุจฺจติ
ภิกฺขเว สมฺมาสมาธิ ฯ อิทํ วุจฺจติ ภิกฺขเว ทุกฺขนิโรธคามินี ปฏิปทา
อริยสจฺจํ ฯ อิติ อชฺฌตฺตํ วา ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ
พหิทฺธา วา ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ อชฺฌตฺตพหิทฺธา วา
ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ สมุทยธมฺมานุปสฺสี วา ธมฺเมสุ วิหรติ
วยธมฺมานุปสฺสี วา ธมฺเมสุ วิหรติ สมุทยวยธมฺมานุปสฺสี วา
ธมฺเมสุ วิหรติ ฯ อตฺถิ ธมฺมาติ วา ปนสฺส สติ ปจฺจุปฏฺฐิตา
โหติ ยาวเทว ญาณมตฺตาย ปฏิสฺสติมตฺตาย ฯ อนิสฺสิโต จ วิหรติ
น จ กิญฺจิ โลเก อุปาทิยติ ฯ เอวมฺปิ โข ภิกฺขเว ภิกฺขุ ธมฺเมสุ
ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ จตูสุ อริยสจฺเจสุ ฯ
สจฺจปพฺพํ นิฏฺฐิตํ ฯ
ธมฺมานุปสฺสนา นิฏฺฐิตา ฯ

[๓๐๐] โย หิ โกจิ ภิกฺขเว อิเม จตฺตาโร สติปฏฺฐาเน เอวํ
ภาเวยฺย สตฺต วสฺสานิ ตสฺส ทฺวินฺนํ ผลานํ อญฺญตรํ ผลํ
ปาฏิกงฺขํ ทิฏฺเฐ ว ธมฺเม อญฺญา สติ วา อุปาทิเสเส อนาคามิตา ฯ
ติฏฺฐนฺตุ ภิกฺขเว สตฺต วสฺสานิ ฯ โย หิ โกจิ ภิกฺขเว อิเม จตฺตาโร
สติปฏฺฐาเน เอวํ ภาเวยฺย ฉ วสฺสานิ ฯ ปญฺจ วสฺสานิ ฯ จตฺตาริ
วสฺสานิ ฯ ตีณิ วสฺสานิ ฯ เทฺว วสฺสานิ ฯ เอกํ วสฺสํ ฯเปฯ
ติฏฺฐตุ ภิกฺขเว เอกํ วสฺสํ ฯ โย หิ โกจิ ภิกฺขเว อิเม จตฺตาโร
สติปฏฺฐาเน เอวํ ภาเวยฺย สตฺต มาสานิ ตสฺส ทฺวินฺนํ ผลานํ
อญฺญตรํ ผลํ ปาฏิกงฺขํ ทิฏฺเฐ ว ธมฺเม อญฺญา สติ วา
อุปาทิเสเส อนาคามิตา ฯ ติฏฺฐนฺตุ ภิกฺขเว สตฺต มาสานิ ฯ โย หิ
โกจิ ภิกฺขเว อิเม จตฺตาโร สติปฏฺฐาเน เอวํ ภาเวยฺย ฉ มาสานิ ฯ
ปญฺจ มาสานิ ฯ จตฺตาริ มาสานิ ฯ ตีณิ มาสานิ ฯ เทฺว
มาสานิ ฯ เอกํ มาสํ ฯ อทฺธมาสํ ๑- ฯเปฯ ติฏฺฐตุ ภิกฺขเว
อทฺธมาโส ฯ โย หิ โกจิ ภิกฺขเว อิเม จตฺตาโร สติปฏฺฐาเน
เอวํ ภาเวยฺย สตฺตาหํ ตสฺส ทฺวินฺนํ ผลานํ อญฺญตรํ ผลํ
ปาฏิกงฺขํ ทิฏฺเฐ ว ธมฺเม อญฺญา สติ วา อุปาทิเสเส อนาคามิตา ๒- ฯ
เอกายโน อยํ ภิกฺขเว มคฺโค สตฺตานํ วิสุทฺธิยา โสกปริเทวานํ
สมติกฺกมาย ทุกฺขโทมนสฺสานํ อตฺถงฺคมาย ญายสฺส อธิคมาย
พฺพานสฺส สจฺฉิกิริยาย ยทิทํ จตฺตาโร สติปฏฺฐานาติ ฯ อิติ
ยนฺตํ วุตฺตํ อิทเมตํ ปฏิจฺจ วุตฺตนฺติ ฯ อิทมโวจ ภควา ฯ
อตฺตมนา เต ภิกฺขู ภควโต ภาสิตํ อภินนฺทุนฺติ ฯ
มหาสติปฏฺฐานสุตฺตํ นิฏฺฐิตํ นวมํ ฯ

====================
๙. มหาสติปัฏฐานสูตร (๒๒)
====================

[๒๗๓] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้-
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ในกุรุชนบท มีนิคมของชาวกุรุ ชื่อว่า กัมมาสทัมมะ ณ ที่นั้น พระผู้มีพระภาคตรัส

เรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคว่า พระพุทธเจ้าข้า พระผู้มีพระภาค ได้ตรัส

พระพุทธภาษิตนี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย หนทางนี้เป็นที่ไปอันเอก เพื่อความบริสุทธิ์ของเหล่าสัตว์ เพื่อล่วงความโศกและ

ปริเทวะ เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัส เพื่อบรรลุธรรมที่ถูกต้อง เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพานหนทางนี้ คือ สติ

ปัฏฐาน ๔ ประการ ๔ ประการ เป็นไฉน
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ พิจารณาเห็นกายในกายอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและ

โทมนัสในโลกเสียได้ ๑ พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสใน

โลกเสียได้ ๑ พิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้ ๑ พิจารณา

เห็นธรรมในธรรมอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้ ๑ ฯ

จบอุทเทสวารกถา

[๒๗๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพิจารณาเห็นกายในกายอยู่อย่างไรเล่า ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ไปสู่ป่าก็ดี ไปสู่โคนไม้ก็ดี ไป

สู่เรือนว่างก็ดี นั่งคู้บัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำรงสติไว้เฉพาะหน้า เธอมีสติหายใจออก มีสติหายใจเข้า เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้

ชัดว่า เราหายใจออกยาว เมื่อหายใจเข้ายาว ก็รู้ชัดว่า เราหายใจเข้ายาว เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ชัดว่า เราหายใจออกสั้น เมื่อ

หายใจเข้าสั้น ก็รู้ชัดว่า เราหายใจเข้าสั้น ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเป็นผู้กำหนดรู้ตลอดกองลมหายใจทั้งปวงหายใจออก

ย่อมสำเหนียกว่า เราจักเป็นผู้กำหนดรู้ตลอดกองลมหายใจทั้งปวงหายใจเข้า ย่อมสำเหนียกว่า เราจักระงับกายสังขาร

หายใจออก ย่อมสำเหนียกว่า เราจักระงับกายสังขารหายใจเข้า
ดูกรภิกษุทั้งหลาย นายช่างกลึงหรือลูกมือของนายช่างกลึงผู้ขยัน เมื่อชักเชือกกลึงยาว ก็รู้ชัดว่า เราชักยาว เมื่อชักเชือก

กลึงสั้น ก็รู้ชัดว่า เราชักสั้น แม้ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นเหมือนกัน เมื่อหายใจออกยาว ก็รู้ชัดว่า เราหายใจออกยาว เมื่อหายใจ

เข้ายาว ก็รู้ชัดว่า เราหายใจเข้ายาว เมื่อหายใจออกสั้น ก็รู้ชัดว่า เราหายใจออกสั้น เมื่อหายใจ เข้าสั้น ก็รู้ชัดว่า เราหายใจ

เข้าสั้น ย่อมสำเนียกว่า เราจักเป็นผู้กำหนดรู้กองลม ทั้งปวงหายใจออก ย่อมสำเนียกว่า เราจักเป็นผู้กำหนดกองลมทั้งปวง

หายใจเข้า ย่อมสำเนียกว่า เราจักระงับกายสังขารหายใจออก ย่อมสำเหนียกว่า เราจักระงับกายสังขารหายใจเข้า ดัง

พรรณนามาฉะนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายภายในบ้าง พิจารณาเห็นกายในกายภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นกายใน

กายทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมในกายบ้าง

พิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในกายบ้าง ย่อมอยู่ อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมีอยู่ ก็

เพียงสักว่าความรู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก

ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่า พิจารณาเห็นกายในกายอยู่ ฯ

จบอานาปานบรรพ

[๒๗๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ภิกษุเมื่อเดิน ก็รู้ชัดว่าเราเดิน เมื่อยืน ก็รู้ชัดว่าเรายืน เมื่อนั่ง ก็รู้ชัดว่าเรานั่ง เมื่อ

นอนก็รู้ชัดว่าเรานอน หรือ เธอตั้งกายไว้ด้วยอาการอย่างใดๆ ก็รู้ชัดอาการอย่างนั้นๆ ดังพรรณนามาฉะนี้ ภิกษุย่อม

พิจารณาเห็นกายในกายภายในบ้าง พิจารณาเห็นกายในกายภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอก

บ้าง พิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดขึ้นในกายบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมในกายบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือ ทั้ง

ความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในกายบ้าง ย่อมอยู่ อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้ เพียงสัก

ว่าอาศัยระลึกเท่านั้น เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล

ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ ฯ

จบอิริยาปถบรรพ

[๒๗๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ภิกษุย่อมทำความรู้สึกตัวในการก้าว ในการถอย ในการแล ในการเหลียว ในการคู้

เข้า ในการเหยียดออก ในการทรงผ้าสังฆาฏิบาตรและจีวร ในการฉัน การดื่ม การเคี้ยว การลิ้ม ในการถ่ายอุจจาระและ

ปัสสาวะ ย่อมทำความรู้สึกตัว ในการเดิน การยืน การนั่ง การหลับ การตื่น การพูด การนิ่ง ดังพรรณนามาฉะนี้ ภิกษุย่อม

พิจารณาเห็นกายในกายภายในบ้าง พิจารณาเห็นกายในกายภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอก

บ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมในกายบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือทั้ง

ความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในกายบ้าง ย่อมอยู่ อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้ เพียงสัก

ว่าอาศัยระลึกเท่านั้น เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล

ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ ฯ

จบสัมปชัญญบรรพ

[๒๗๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายนี้แหละ แต่พื้นเท้าขึ้นไป แต่ปลายผมลงมา มีหนังเป็นที่

สุดรอบ เต็มด้วยของไม่สะอาดมีประการต่างๆ ว่า มีอยู่ในกายนี้ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ม้าม

หัวใจ ตับ ผังผืด ไต ปอด ไส้ใหญ่ ไส้ทบ อาหารใหม่ อาหารเก่า ดี เสลด หนอง เลือด เหงื่อ มันข้น น้ำตา มันเหลว น้ำลาย

น้ำมูก ไขข้อ มูตร ดูกรภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนไถ้มีปากสองข้าง เต็มด้วยธัญชาติต่างชนิดคือ ข้าวสาลี ข้าวเปลือก ถั่ว

เขียว ถั่วเหลือง งา ข้าวสาร บุรุษผู้มีนัยน์ตาดีแก้ไถ้นั้นแล้ว พึงเห็นได้ว่า นี้ข้าวสาลี นี้ข้าว เปลือก นี้ถั่วเขียว นี้ถั่วเหลือง นี้งา

นี้ข้าวสาร ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้นเหมือนกัน ย่อมพิจารณาเห็นกายนี้แหละ แต่พื้นเท้าขึ้นไป แต่ปลายผมลงมา มีหนังเป็นที่

สุดรอบ เต็มด้วยของไม่สะอาดมีประการต่างๆ ว่า มีอยู่ในกายนี้ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ม้าม

หัวใจ ตับ ผังผืด ไต ปอด ไส้ใหญ่ ไส้ทบ อาหารใหม่ อาหารเก่า ดี เสลด หนอง เลือด เหงื่อ มันข้น น้ำตา มันเหลว น้ำลาย

น้ำมูก ไขข้อ มูตร ดังพรรณนามา ฉะนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายภายในบ้าง พิจารณาเห็นกายในกายภายนอกบ้าง

พิจารณาเห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือ

ความเสื่อมในกายบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในกายบ้าง ย่อมอยู่ อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่

ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่

ถือมั่นอะไรๆ ในโลก ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ ฯ

จบปฏิกูลมนสิการบรรพ

[๒๗๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายนี้แหละ ซึ่งตั้งอยู่ตามที่ ตั้งอยู่ตามปรกติ โดยความเป็น

ธาตุว่า มีอยู่ในกายนี้ ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุไฟ ธาตุลม คนฆ่าโคหรือลูกมือของคนฆ่าโคผู้ขยัน ฆ่าโค แล้ว แบ่งออกเป็นส่วน

นั่งอยู่ที่หนทางใหญ่สี่แพร่ง ฉันใด ภิกษุก็ฉันนั้น เหมือนกัน ย่อมพิจารณาเห็นกายนี้แหละ ซึ่งตั้งอยู่ตามที่ ตั้งอยู่ตามปรกติ

โดยความเป็นธาตุว่า มีอยู่ในกายนี้ ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุไฟ ธาตุลม ดังพรรณนามาฉะนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกาย

ภายในบ้าง ฯลฯ อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ ฯ

จบธาตุมนสิการบรรพ

[๒๗๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ภิกษุเหมือนกะว่าพึงเห็นสรีระที่เขาทิ้งไว้ในป่าช้า ตายแล้ววันหนึ่งบ้าง สองวันบ้าง

สามวันบ้าง ที่ขึ้นพอง มีสีเขียวน่าเกลียด มีน้ำเหลืองไหลน่าเกลียด เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า ถึงร่างกายอันนี้เล่า

ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา คงเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงความเป็นอย่างนี้ไปได้ ดังพรรณนามาฉะนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายใน

กายภายในบ้าง ฯลฯ อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ ฯ

[๒๘๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ภิกษุเหมือนกะว่าพึงเห็นสรีระที่เขาทิ้งไว้ในป่าช้า อันฝูงกาจิกกินอยู่บ้าง ฝูงนก

ตะกรุมจิกกินอยู่บ้าง ฝูงแร้งจิกกินอยู่บ้าง หมู่สุนัขกัดกินอยู่บ้าง หมู่สุนัขจิ้งจอกกัดกินอยู่บ้าง หมู่สัตว์ตัวเล็ก ๆ ต่าง ๆ กัด

กินอยู่บ้าง เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า ถึงร่างกายอันนี้เล่าก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา คงเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงความเป็น

อย่างนี้ไปได้ ดังพรรณนามาฉะนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายภายในบ้าง พิจารณาเห็นกายในกายภายนอกบ้าง

พิจารณาเห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือ

ความเสื่อมในกายบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในกายบ้าง ย่อมอยู่ อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่

ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมีอยู่ ก็เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือมั่นอะไรๆ ใน

โลก ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ ฯ

[๒๘๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ภิกษุเหมือนกะว่าพึงเห็นสรีระที่เขาทิ้งไว้ในป่าช้า เป็นร่างกระดูก ยังมีเนื้อและ

เลือด ยังมีเส้นเอ็นผูกรัดอยู่ ฯลฯ

[๒๘๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ภิกษุเหมือนกะว่าพึงเห็นสรีระที่เขาทิ้งไว้ในป่าช้า เป็นร่างกระดูก ปราศจากเนื้อ

แต่ยังเปื้อนเลือด ยังมีเส้นเอ็นผูกรัดอยู่ ฯลฯ

[๒๘๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ภิกษุเหมือนกะว่าพึงเห็นสรีระที่เขาทิ้งไว้ในป่าช้า เป็นร่างกระดูก ปราศจากเนื้อ

และเลือดแล้ว ยังมีเส้นเอ็นผูกรัดอยู่ ฯลฯ

[๒๘๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ภิกษุเหมือนกะว่าพึงเห็นสรีระที่เขาทิ้งไว้ในป่าช้า คือ เป็นกระดูก ปราศจากเส้น

เอ็นผูกรัดแล้ว เรี่ยรายไปในทิศใหญ่ทิศน้อย คือ กระดูกมือไปทางหนึ่ง กระดูกเท้าไปทางหนึ่ง กระดูกแข้งไปทางหนึ่ง

กระดูกขาไปทางหนึ่ง กระดูกสะเอวไปทางหนึ่ง กระดูกหลังไปทางหนึ่ง กระดูกสันหลังไปทางหนึ่ง กระดูกสีข้างไป

ทางหนึ่ง กระดูกหน้าอกไปทางหนึ่ง กระดูกไหล่ไปทางหนึ่ง กระดูกแขนไปทางหนึ่ง กระดูกคอไปทางหนึ่ง กระดูกคาง

ไปทางหนึ่ง กระดูกฟันไปทางหนึ่ง กระโหลกศีรษะไปทางหนึ่ง เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า ถึงร่างกายอันนี้เล่า

ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา คงเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงความเป็นอย่างนี้ไปได้ ดังพรรณนามาฉะนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายใน

กายภายในบ้าง พิจารณาเห็นกายในกายภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นกายในกายทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง พิจารณาเห็น

ธรรมคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมในกายบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้ง

ความเสื่อมในกายบ้าง ย่อมอยู่ อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึก

เท่านั้น เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่า

พิจารณาเห็นกายในกายอยู่ ฯ

[๒๘๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ภิกษุเหมือนกะว่าพึงเห็นสรีระที่เขาทิ้งไว้ในป่าช้า คือ เป็นกระดูกมีสีขาว เปรียบ

ด้วยสีสังข์ ฯลฯ

[๒๘๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ภิกษุเหมือนกะว่าพึงเห็นสรีระที่เขาทิ้งไว้ในป่าช้า คือ เป็นกระดูกกองเรียงรายอยู่

แล้วเกินปีหนึ่งขึ้นไป ฯลฯ

[๒๘๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ภิกษุเหมือนกะว่าพึงเห็นสรีระที่เขาทิ้งไว้ในป่าช้า คือ เป็นกระดูกผุ เป็นจุณแล้ว

เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า ถึงร่างกายอันนี้เล่า ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา คงเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงความเป็นอย่างนี้ไปได้

ดังพรรณนามาฉะนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นกายในกายภายในบ้าง พิจารณาเห็นกายในกายภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นกาย

ในกายทั้งภายในภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในกายบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมในกายบ้าง

พิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในกายบ้าง ย่อมอยู่ อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมีอยู่ ก็

เพียงสักว่าความรู้เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือมั่นอะไร ๆ ในโลก

ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ ฯ

จบนวสีวถิกาบรรพ
จบกายานุปัสสนา

[๒๘๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู่อย่างไรเล่า
ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เสวยสุขเวทนาอยู่ ก็รู้ชัดว่า เราเสวยสุขเวทนา หรือ เสวยทุกขเวทนา ก็รู้ชัดว่า เราเสวยทุกขเวทนา หรือ เสวยอทุกขมสุขเวทนา ก็รู้ชัดว่า เราเสวยอทุกขมสุขเวทนา หรือ เสวยสุขเวทนามีอามิส ก็รู้ชัดว่า เราเสวยสุขเวทนามีอามิส หรือ เสวยสุขเวทนาไม่มีอามิส ก็รู้ชัดว่า เราเสวยสุขเวทนาไม่มีอามิส หรือเสวยทุกขเวทนามีอามิส ก็รู้ชัดว่า เราเสวยทุกขเวทนามีอามิส หรือ เสวยทุกขเวทนาไม่มีอามิส ก็รู้ชัดว่า เราเสวยทุกขเวทนาไม่มีอามิส หรือ เสวยอทุกขมสุขเวทนามีอามิส ก็รู้ชัดว่า เราเสวยอทุกขมสุขเวทนามีอามิส หรือ เสวยอทุกขมสุขเวทนาไม่มีอามิส ก็รู้ชัดว่า เราเสวยอทุกขมสุขเวทนาไม่มีอามิส ดังพรรณนามาฉะนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาภายในบ้าง พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในเวทนาบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมในเวทนาบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในเวทนาบ้าง อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า เวทนามีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่า พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู่ ฯ

จบเวทนานุปัสสนา

[๒๘๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่อย่างไรเล่า ภิกษุในธรรมวินัยนี้ จิตมีราคะ ก็รู้ว่าจิตมีราคะ หรือจิตปราศจากราคะ ก็รู้ว่าจิตปราศจากราคะ จิตมีโทสะ ก็รู้ว่าจิตมีโทสะ หรือจิตปราศจากโทสะ ก็รู้ว่าจิตปราศจากโทสะ จิตมีโมหะ ก็รู้ว่าจิตมีโมหะ หรือจิตปราศจากโมหะ ก็รู้ว่าจิตปราศจากโมหะ จิตหดหู่ ก็รู้ว่าจิตหดหู่ จิตฟุ้งซ่าน ก็รู้ว่าจิตฟุ้งซ่าน จิตเป็นมหรคต ก็รู้ว่าจิตเป็นมหรคต หรือจิตไม่เป็นมหรคต ก็รู้ว่าจิตไม่เป็นมหรคต จิตมีจิตอื่นยิ่งกว่า ก็รู้ว่าจิตมีจิตอื่นยิ่งกว่า หรือจิตไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า ก็รู้ว่าจิตไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า จิตเป็นสมาธิ ก็รู้ว่าจิตเป็นสมาธิ หรือจิตไม่เป็นสมาธิ ก็รู้ว่าจิตไม่เป็นสมาธิ จิตหลุดพ้น ก็รู้ว่าจิตหลุดพ้น หรือจิตไม่หลุดพ้น ก็รู้ว่าจิตไม่หลุดพ้น ดังพรรณนามาฉะนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นจิตในจิตภายในบ้าง พิจารณาเห็นจิตในจิตภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นจิตในจิตทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในจิตบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมในจิตบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในจิตบ้าง ย่อมอยู่ อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า จิตมีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือมั่นอะไร ๆ ในโลก ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่ ฯ

จบจิตตานุปัสสนา

[๒๙๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุพิจารณาเห็นธรรมในธรรมอยู่ อย่างไรเล่า ภิกษุในธรรมวินัยนี้ พิจารณาเห็นธรรมในธรรม คือนิวรณ์ ๕ ภิกษุพิจารณาเห็นธรรมในธรรมคือนิวรณ์ ๕ อย่างไรเล่า ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เมื่อกามฉันท์มีอยู่ ณ ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่า กามฉันท์มีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา หรือเมื่อกามฉันท์ไม่มีอยู่ ณ ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่า กามฉันท์ไม่มีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา อนึ่ง กามฉันท์ที่ยังไม่เกิดจะเกิดขึ้นด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย กามฉันท์ที่เกิดขึ้นแล้วจะละเสียได้ด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย กามฉันท์ที่ละได้แล้วจะไม่เกิดขึ้นต่อไปด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย อีกอย่างหนึ่ง เมื่อพยาบาทมีอยู่ ณ ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่า พยาบาทมีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา หรือเมื่อพยาบาทไม่มีอยู่ ณ ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่า พยาบาทไม่มีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา อนึ่ง พยาบาทที่ยังไม่เกิดจะเกิดขึ้นด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย พยาบาทที่เกิดขึ้นแล้วจะละเสียได้ด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย พยาบาทที่ละได้แล้วจะไม่เกิดขึ้นต่อไปด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย อีกอย่างหนึ่ง เมื่อถีนมิทธะมีอยู่ ณ ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่า ถีนมิทธะมีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา หรือเมื่อถีนมิทธะไม่มีอยู่ ณ ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่า ถีนมิทธะไม่มีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา อนึ่ง ถีนมิทธะที่ยังไม่เกิดจะเกิดขึ้นด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย ถีนมิทธะที่เกิดขึ้นแล้ว จะละเสียได้ด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย ถีนมิทธะที่ละได้แล้ว จะไม่เกิดขึ้นต่อไปด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย อีกอย่างหนึ่ง เมื่ออุทธัจจกุกกุจจะมีอยู่ ณ ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่า อุทธัจจกุกกุจจะมีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา หรือเมื่ออุทธัจจกุกกุจจะไม่มีอยู่ ณ ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่า อุทธัจจกุกกุจจะไม่มีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา อนึ่ง อุทธัจจกุกกุจจะที่ยังไม่เกิดจะเกิดขึ้นด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย อุทธัจจกุกกุจจะที่เกิดขึ้นแล้ว จะละเสียได้ด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย อุทธัจจกุกกุจจะที่ละได้แล้วจะไม่เกิดขึ้นต่อไปด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย อีกอย่างหนึ่ง เมื่อวิจิกิจฉามีอยู่ ณ ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่า วิจิกิจฉามีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา หรือเมื่อวิจิกิจฉาไม่มีอยู่ ณ ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่า วิจิกิจฉาไม่มีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา อนึ่ง วิจิกิจฉาที่ยังไม่เกิดจะเกิดขึ้นด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย วิจิกิจฉาที่เกิดขึ้นแล้ว จะละเสียได้ด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย วิจิกิจฉาที่ละได้แล้ว จะไม่เกิดขึ้นต่อไปด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย ดังพรรณนามาฉะนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมภายในบ้าง พิจารณาเห็นธรรมในธรรมภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรมทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในธรรมบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมในธรรมบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในธรรมบ้าง ย่อมอยู่ อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า ธรรมมีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือมั่นอะไร ๆ ในโลก ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นธรรมในธรรมคือนิวรณ์ ๕ อยู่ ฯ

จบนีวรณบรรพ

[๒๙๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ภิกษุพิจารณาเห็นธรรมในธรรมคือ อุปาทานขันธ์ ๕ ภิกษุพิจารณาเห็นธรรมในธรรมคืออุปาทานขันธ์ ๕ อย่างไรเล่า ภิกษุในธรรมวินัยนี้ พิจารณาเห็นดังนี้ว่า อย่างนี้รูป อย่างนี้ความเกิดขึ้นแห่งรูป อย่างนี้ความดับแห่งรูป อย่างนี้เวทนา อย่างนี้ความเกิดขึ้นแห่งเวทนา อย่างนี้ ความดับแห่งเวทนา อย่างนี้สัญญา อย่างนี้ความเกิดขึ้นแห่งสัญญา อย่างนี้ความดับแห่งสัญญา อย่างนี้สังขาร อย่างนี้ความเกิดขึ้นแห่งสังขาร อย่างนี้ความดับแห่งสังขาร อย่างนี้วิญญาณ อย่างนี้ความเกิดขึ้นแห่งวิญญาณ อย่างนี้ความดับแห่งวิญญาณ ดังพรรณนามาฉะนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมภายในบ้าง พิจารณาเห็นธรรมในธรรมภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในธรรมบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมในธรรมบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในธรรมบ้าง ย่อมอยู่ อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า ธรรมมีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นธรรมในธรรมคืออุปาทานขันธ์ ๕ อยู่ ฯ

จบขันธบรรพ

[๒๙๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ภิกษุพิจารณาเห็นธรรมในธรรมคืออายตนะภายในและภายนอก ๖ ภิกษุพิจารณาเห็นธรรมในธรรมคืออายตนะภายในและภายนอก ๖ อย่างไรเล่า ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมรู้จักนัยน์ตา รู้จักรูป และรู้จักนัยน์ตาและรูปทั้ง ๒ นั้น อันเป็นที่อาศัยบังเกิดของสังโยชน์ อนึ่ง สังโยชน์ที่ยังไม่เกิดจะเกิดขึ้นด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย สังโยชน์ ที่เกิดขึ้นแล้ว จะละเสียได้ด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย สังโยชน์ที่ละได้แล้วจะไม่เกิดขึ้นต่อไปด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย ภิกษุย่อมรู้จักหู รู้จักเสียง ... ภิกษุย่อมรู้จักจมูก รู้จักกลิ่น ... ภิกษุย่อมรู้จักลิ้น รู้จักรส ... ภิกษุย่อมรู้จักกาย รู้จักสิ่งที่จะพึงถูกต้องด้วยกาย ... ภิกษุย่อมรู้จักใจ รู้จักธรรมารมณ์ และรู้จักใจและธรรมารมณ์ทั้ง ๒ นั้น อันเป็นที่อาศัยบังเกิดของสังโยชน์ อนึ่ง สังโยชน์ที่ยังไม่เกิดจะเกิดขึ้นด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย สังโยชน์ที่เกิดขึ้นแล้วจะละเสียได้ด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย สังโยชน์ที่ละได้แล้วจะไม่เกิดขึ้นต่อไปด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย ดังพรรณนามาฉะนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมภายในบ้าง พิจารณาเห็นธรรมในธรรมภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในธรรมบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในธรรมบ้าง ย่อมอยู่ อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า ธรรมมีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นธรรมในธรรมคืออายตนะภายในและภายนอก ๖ อยู่ ฯ

จบอายตบรรพ

[๒๙๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ภิกษุพิจารณาเห็นธรรมในธรรมคือโพชฌงค์ ๗ ภิกษุพิจารณาเห็นธรรมในธรรมคือโพชฌงค์ ๗ อย่างไรเล่า ภิกษุ ในธรรมวินัยนี้ เมื่อสติสัมโพชฌงค์มีอยู่ ณ ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่า สติสัมโพชฌงค์มีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา หรือเมื่อสติสัมโพชฌงค์ไม่มีอยู่ ณ ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่า สติสัมโพชฌงค์ไม่มีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา อนึ่ง สติสัมโพชฌงค์ที่ยังไม่เกิดจะเกิดขึ้นด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย สติสัมโพชฌงค์ที่เกิดขึ้นแล้ว จะเจริญบริบูรณ์ด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย อีกอย่างหนึ่ง เมื่อธัมมวิจยสัมโพชฌงค์มีอยู่ ณ ภายในจิต ฯลฯ อีกอย่างหนึ่ง เมื่อวิริยสัมโพชฌงค์มีอยู่ ณ ภายในจิต ฯลฯ อีกอย่างหนึ่ง เมื่อปีติสัมโพชฌงค์มีอยู่ ณ ภายในจิต ฯลฯ อีกอย่างหนึ่ง ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์มีอยู่ ณ ภายในจิต ฯลฯ อีกอย่างหนึ่ง เมื่อสมาธิสัมโพชฌงค์มีอยู่ ณ ภายในจิต ฯลฯ

อีกอย่างหนึ่ง เมื่ออุเบกขาสัมโพชฌงค์มีอยู่ ณ ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่า อุเบกขาสัมโพชฌงค์มีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา หรือเมื่ออุเบกขาสัมโพชฌงค์ไม่มีอยู่ ณ ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่า อุเบกขาสัมโพชฌงค์ไม่มีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา อนึ่งอุเบกขาสัมโพชฌงค์ที่ยังไม่เกิดจะเกิดขึ้นด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย อุเบกขาสัมโพชฌงค์ที่เกิดขึ้นแล้ว จะเจริญบริบูรณ์ด้วยประการใด ย่อมรู้ชัดประการนั้นด้วย ดังพรรณนาฉะนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมภายในบ้างพิจารณาเห็นธรรมในธรรมภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งภายในทั้งภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในธรรมบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมในธรรมบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นและความเสื่อมในธรรมบ้าง ย่อมอยู่ อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า ธรรมมีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นธรรมในธรรมคือโพชฌงค์ ๗ อยู่ ฯ

จบโพชฌงคบรรพ
จบภาณวารที่หนึ่ง

[๒๙๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง ภิกษุพิจารณาเห็นธรรมในธรรมคืออริยสัจ ๔ อยู่ ภิกษุพิจารณาเห็นธรรมในธรรมคืออริยสัจ ๔ อยู่ อย่างไรเล่า ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมรู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธนี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ทุกขอริยสัจเป็นไฉน แม้ชาติก็เป็นทุกข์ แม้ชราก็เป็นทุกข์ แม้มรณะก็เป็นทุกข์ แม้โสกะ ปริเทวะทุกข์โทมนัสอุปายาส ก็เป็นทุกข์ แม้ความประจวบกับสิ่งไม่เป็นที่รักก็เป็นทุกข์ แม้ความพลัดพรากจากสิ่งที่รักก็เป็นทุกข์ ปรารถนาสิ่งใดไม่ได้ แม้อันนั้นก็เป็นทุกข์ โดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ เป็นทุกข์ ฯ

[๒๙๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ชาติเป็นไฉน ความเกิด ความบังเกิดความหยั่งลงเกิด เกิดจำเพาะ ความปรากฏแห่งขันธ์ ความได้อายตนะครบ ในหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้น ๆ อันนี้เรียกว่าชาติ ฯ ก็ชราเป็นไฉน ความแก่ ภาวะของความแก่ ฟันหลุด ผมหงอก หนัง เป็นเกลียว ความเสื่อมแห่งอายุ ความแก่หง่อมแห่งอินทรีย์ ในหมู่สัตว์นั้น ๆ ของเหล่าสัตว์นั้น ๆ อันนี้เรียกว่าชรา ฯ ก็มรณะเป็นไฉน ความเคลื่อน ภาวะของความเคลื่อน ความแตกทำลาย ความหายไป มฤตยู ความตาย ความทำกาละ ความทำลายแห่งขันธ์ ความทอดทิ้งซากศพไว้ ความขาดแห่งชีวิตินทรีย์ จากหมู่สัตว์นั้นๆ ของเหล่าสัตว์นั้นๆ อันนี้เรียกว่ามรณะ ฯ ก็โสกะเป็นไฉน ความแห้งใจ กิริยาที่แห้งใจ ภาวะแห่งบุคคลผู้แห้งใจ ความผาก ณ ภายใน ความแห้งผาก ณ ภายใน ของบุคคลผู้ประกอบด้วยความพิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง ผู้ถูกธรรมคือทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งกระทบแล้ว อันนี้ เรียกว่าโสกะ ฯ ก็ปริเทวะเป็นไฉน ความคร่ำครวญ ความร่ำไรรำพัน กิริยาที่คร่ำครวญ กิริยาที่ร่ำไรรำพัน ภาวะของบุคคลผู้คร่ำครวญ ภาวะของบุคคลผู้ร่ำไรรำพัน ของบุคคลผู้ประกอบด้วยความพิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง ผู้ถูกธรรมคือทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งกระทบแล้ว อันนี้เรียกว่าปริเทวะ ฯ ก็ทุกข์เป็นไฉน ความลำบากทางกาย ความไม่สำราญทางกาย ความเสวยอารมณ์อันไม่ดีที่เป็นทุกข์เกิดแต่กายสัมผัส อันนี้เรียกว่าทุกข์ ฯ ก็โทมนัสเป็นไฉน ความทุกข์ทางจิต ความไม่สำราญทางจิต ความเสวยอารมณ์อันไม่ดีที่เป็นทุกข์เกิดแต่มโนสัมผัส อันนี้เรียกว่าโทมนัส ฯ ก็อุปายาสเป็นไฉน ความแค้น ความคับแค้น ภาวะของบุคคลผู้แค้น ภาวะของบุคคลผู้คับแค้น ของบุคคลผู้ประกอบด้วยความพิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง ผู้ถูกธรรมคือทุกข์อย่างใดอย่างหนึ่งกระทบแล้ว อันนี้เรียกว่าอุปายาส ฯ ก็ความประจวบกับสิ่งไม่เป็นที่รัก ก็เป็นทุกข์ เป็นไฉน ความประสบความพรั่งพร้อม ความร่วม ความระคน ด้วยรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะอันไม่น่าปรารถนา ไม่น่าใคร่ ไม่น่าพอใจ หรือด้วยบุคคลผู้ปรารถนาสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ ปรารถนาสิ่งที่ไม่เกื้อกูล ปรารถนาความไม่ผาสุก ปรารถนาความไม่เกษมจากโยคะ ซึ่งมีแก่ผู้นั้น อันนี้เรียกว่า ความประจวบกับสิ่งไม่เป็นที่รักก็เป็นทุกข์ ฯ ก็ความพลัดพรากจากสิ่งที่รัก ก็เป็นทุกข์ เป็นไฉน ความไม่ประสบ ความไม่พรั่งพร้อม ความไม่ร่วม ความไม่ระคน ด้วยรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ หรือด้วยบุคคลผู้ปรารถนา ประโยชน์ ปรารถนาสิ่งที่เกื้อกูล ปรารถนาความผาสุก ปรารถนาความเกษมจากโยคะ คือ มารดา บิดา พี่ชาย น้องชาย พี่หญิง น้องหญิง มิตร อมาตย์ หรือ ญาติสาโลหิต ซึ่งมีแก่ผู้นั้น อันนี้เรียกว่า ความพลัดพรากจากสิ่งที่รักก็เป็นทุกข์ ฯ ก็ปรารถนาสิ่งใดไม่ได้ แม้อันนั้น ก็เป็นทุกข์ เป็นไฉน ความปรารถนาย่อมบังเกิดแก่สัตว์ผู้มีความเกิดเป็นธรรมดา อย่างนี้ว่า โอหนอ ขอเราไม่พึงมีความเกิดเป็นธรรมดา ขอความเกิดอย่ามีมาถึงเราเลย ข้อนั้นสัตว์ไม่พึงได้สมความปรารถนา แม้ข้อนี้ ก็ชื่อว่าปรารถนาสิ่งใดไม่ได้ แม้อันนั้นก็เป็นทุกข์ ความปรารถนาย่อมบังเกิดแก่สัตว์ผู้มีความแก่เป็นธรรมดา อย่างนี้ว่า โอหนอ ขอเราไม่พึงมีความแก่เป็นธรรมดา ขอความแก่อย่ามีมาถึงเราเลย ข้อนั้นสัตว์ไม่พึงได้ สมความปรารถนา แม้ข้อนี้ ก็ชื่อว่าปรารถนาสิ่งใดไม่ได้ แม้อันนั้นก็เป็นทุกข์ ความปรารถนาย่อมบังเกิดแก่สัตว์ผู้มีความเจ็บเป็นธรรมดาอย่างนี้ว่า โอหนอ ขอเราไม่พึงมีความเจ็บเป็นธรรมดา ขอความเจ็บอย่ามีมาถึงเราเลย ข้อนั้นสัตว์ไม่พึงได้สมความปรารถนา แม้ข้อนี้ ก็ชื่อว่า ปรารถนาสิ่งใดไม่ได้ แม้อันนั้นก็เป็นทุกข์ ความปรารถนาย่อมบังเกิดแก่สัตว์ผู้มีความตายเป็นธรรมดาอย่างนี้ว่า โอหนอ ขอเราไม่พึงมความตายเป็นธรรมดา ขอความตายอย่ามีมาถึงเราเลย ข้อนั้นสัตว์ไม่พึงได้สมความปรารถนา แม้ข้อนี้ ก็ชื่อว่าปรารถนาสิ่งใดไม่ได้ แม้อันนั้นก็เป็นทุกข์ ความปรารถนา ย่อมบังเกิดแก่สัตว์ผู้มีโสกปริเทวทุกขโทมนัสอุปายาสเป็นธรรมดาอย่างนี้ว่า โอหนอ ขอเราไม่พึงมีโสกปริเทวทุกขโทมนัสอุปายาสเป็นธรรมดา ขอโสกปริเทวทุกขโทมนัสอุปายาส อย่ามีมาถึงเราเลย ข้อนั้นสัตว์ไม่พึงได้สมความปรารถนา แม้ข้อนี้ ก็ชื่อว่าปรารถนาสิ่งใดไม่ได้ แม้อันนั้นก็เป็นทุกข์ ฯ
ก็โดยย่อ อุปาทานขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ เป็นไฉน อุปาทานขันธ์ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เหล่านี้เรียกว่า โดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ เป็นทุกข์ ฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันนี้เรียกว่า ทุกขอริยสัจ ฯ

[๒๙๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ทุกขสมุทัยอริยสัจ เป็นไฉน ตัณหานี้ใด อันมีความเกิดอีก ประกอบด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิดเพลิน เพลิดเพลินยิ่งนักในอารมณ์นั้นๆ คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา ฯ

[๒๙๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ตัณหานี้นั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดในที่ไหน เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ในที่ไหน ที่ใดเป็นที่รักที่เจริญใจในโลก ตัณหานั้น เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดในที่นี้ เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ในที่นี้ อะไรเป็นที่รักที่เจริญใจในโลก ฯ
ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เป็นที่รักที่เจริญใจในโลก ตัณหา เมื่อจะเกิดย่อมเกิดที่นี้ เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ ณ ที่นี้ ฯ
รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ เป็นที่รักที่เจริญใจในโลก ตัณหาเมื่อจะเกิด ย่อมเกิดในที่นี้ เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ในที่นี้ ฯ
จักขุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ มโนวิญญาณ เป็นที่รักที่เจริญในโลก ตัณหา เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดขึ้นในที่นี้ เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ในที่นี้ ฯ จักขุสัมผัส โสตสัมผัส ฆานสัมผัส ชิวหาสัมผัส กายสัมผัส มโนสัมผัส เป็นที่รักที่เจริญใจในโลก ตัณหาเมื่อจะเกิด ย่อมเกิดในที่นี้ เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ในที่นี้ ฯ
จักขุสัมผัสสชาเวทนา โสตสัมผัสสชาเวทนา ฆานสัมผัสสชาเวทนา ชิวหาสัมผัสสชาเวทนา กายสัมผัสสชาเวทนา มโนสัมผัสสชาเวทนา เป็นที่รักที่เจริญใจในโลก ตัณหาเมื่อจะเกิด ย่อมเกิดในที่นี้ เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ในที่นี้ ฯ รูปสัญญา สัททสัญญา คันธสัญญา รสสัญญา โผฏฐัพพสัญญา ธัมมสัญญา เป็นที่รักที่เจริญใจในโลก ตัณหาเมื่อจะเกิด ย่อมเกิดในที่นี้ เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ในที่นี้ ฯ รูปสัญเจตนา สัททสัญเจตนา คันธสัญเจตนา รสสัญเจตนา โผฏฐัพพสัญเจตนา ธัมมสัญเจตนา เป็นที่รักที่เจริญใจในโลก ตัณหา เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดในที่นี้ เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ในที่นี้ ฯ
รูปตัณหา สัททตัณหา คันธตัณหา รสตัณหา โผฏฐัพพตัณหา ธัมมตัณหา เป็นที่รักที่เจริญใจในโลก ตัณหา เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดในที่นี้ เมื่อจะตั้งอยู่ ย่อมตั้งอยู่ในที่นี้ ฯ
รูปวิตก สัททวิตก คันธวิตก รสวิตก โผฏฐัพพวิตก ธัมมวิตกเป็นที่รักที่เจริญใจในโลก ตัณหา เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดในที่นี้ เมื่อจะตั้งอยู่ย่อมตั้งอยู่ในที่นี้ ฯ
รูปวิจาร สัททวิจาร คันธวิจาร รสวิจาร โผฏฐัพพวิจาร ธัมมวิจาร เป็นที่รักที่เจริญใจในโลก ตัณหา เมื่อจะเกิด ย่อมเกิดในที่นี้ เมื่อจะตั้งอยู่ย่อมตั้งอยู่ในที่นี้ ฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันนี้เรียกว่า ทุกขสมุทัยอริยสัจ ฯ

[๒๙๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ทุกขนิโรธอริยสัจเป็นไฉน ความสำรอก และความดับโดยไม่เหลือ ความสละ ความส่งคืน ความปล่อยวาง ความไม่มีอาลัย ในตัณหานั้น ก็ตัณหานั้น เมื่อบุคคลจะละ ย่อมละเสียได้ในที่ไหน เมื่อจะดับ ย่อมดับในที่ไหน ที่ใดเป็นที่รักที่เจริญใจในโลก ตัณหานั้น เมื่อบุคคลจะละ ย่อมละเสียได้ในที่นี้ เมื่อจะดับย่อมดับในที่นี้ อะไรเป็นที่รักที่เจริญใจในโลก ฯ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เป็นที่รักที่เจริญใจในโลก ตัณหา เมื่อบุคคลจะละ ย่อมละเสียได้ในที่นี้ เมื่อจะดับย่อมดับในที่นี้ รูปเสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ เป็นที่รักที่เจริญใจในโลก ตัณหา เมื่อบุคคลจะละย่อมละเสียได้ในที่นี้ เมื่อจะดับย่อมดับในที่นี้ ฯ
จักขุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ มโนวิญญาณ เป็นที่รักที่เจริญใจในโลก ตัณหา เมื่อบุคคลจะละ ย่อมละเสียได้ในที่นี้ เมื่อจะดับ ย่อมดับในที่นี้ ฯ
จักขุสัมผัส โสตสัมผัส ฆานสัมผัส ชิวหาสัมผัส กายสัมผัส มโนสัมผัส เป็นที่รักที่เจริญใจในโลก ตัณหา เมื่อบุคคลจะละ ย่อมละเสียได้ในที่นี้ เมื่อจะดับ ย่อมดับในที่นี้ ฯ
จักขุสัมผัสสชาเวทนา โสตสัมผัสสชาเวทนา ฆานสัมผัสสชาเวทนา ชิวหาสัมผัสสชาเวทนา กายสัมผัสสชาเวทนา มโนสัมผัสสชาเวทนา เป็นที่รักที่เจริญใจในโลก ตัณหา เมื่อบุคคลจะละ ย่อมละเสียได้ในที่นี้ เมื่อจะดับย่อมดับในที่นี้ ฯ
รูปสัญญา สัททสัญญา คันธสัญญา รสสัญญา โผฏฐัพพสัญญา ธัมมสัญญา เป็นที่รักที่เจริญใจในโลก ตัณหา เมื่อบุคคลจะละ ย่อมละเสียได้ในที่นี้ เมื่อจะดับ ย่อมดับในที่นี้ ฯ
รูปสัญเจตนา สัททสัญเจตนา คันธสัญเจตนา รสสัญเจตนา โผฏฐัพพสัญเจตนา ธัมมสัญเจตนา เป็นที่รักที่เจริญใจในโลก ตัณหา เมื่อบุคคลจะละ ย่อมละเสียได้ในที่นี้ เมื่อจะดับ ย่อมดับในที่นี้ ฯ
รูปตัณหา สัททตัณหา คันธตัณหา รสตัณหา โผฏฐัพพตัณหา ธัมมตัณหา เป็นที่รักที่เจริญใจในโลก ตัณหา เมื่อบุคคลจะละ ย่อมละเสียได้ในที่นี้เมื่อจะดับ ย่อมดับในที่นี้ ฯ
รูปวิตก สัททวิตก คันธวิตก รสวิตก โผฏฐัพพวิตก ธัมมวิตก เป็นที่รักที่เจริญใจในโลก ตัณหา เมื่อบุคคลจะละ ย่อมละเสียได้ในที่นี้ เมื่อจะดับ ย่อมดับในที่นี้ ฯ
รูปวิจาร สัททวิจาร คันธวิจาร รสวิจาร โผฏฐัพพวิจาร ธัมมวิจาร เป็นที่รักที่เจริญใจในโลก ตัณหา เมื่อบุคคลจะละ ย่อมละเสียได้ในที่นี้ เมื่อจะดับ ย่อมดับในที่นี้ ฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันนี้เรียกว่า ทุกขนิโรธอริยสัจ ฯ

[๒๙๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจเป็นไฉน นี้คือมรรคมีองค์ ๘ อันประเสริฐ คือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ ก็สัมมาทิฏฐิเป็นไฉน ความรู้ในทุกข์ ความรู้ในทุกขสมุทัย ความรู้ในทุกขนิโรธ ความรู้ในทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา อันนี้เรียกว่า สัมมาทิฏฐิ ฯ
สัมมาสังกัปปะ เป็นไฉน ความดำริในการออกจากกาม ความดำริในความไม่พยาบาท ความดำริในอันไม่เบียดเบียน อันนี้เรียกว่า สัมมาสังกัปปะ ฯ
สัมมาวาจา เป็นไฉน การงดเว้นจากการพูดเท็จ งดเว้นจากการพูดส่อเสียด งดเว้นจากการพูดคำหยาบ งดเว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ อันนี้เรียกว่า สัมมาวาจา ฯ
สัมมากัมมันตะ เป็นไฉน การงดเว้นจากการฆ่าสัตว์ งดเว้นจากการถือเอาสิ่งของที่เขามิได้ให้ งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม อันนี้เรียกว่า สัมมากัมมันตะ ฯ
สัมมาอาชีวะ เป็นไฉน อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ละการเลี้ยงชีพที่ผิดเสีย สำเร็จการเลี้ยงชีพด้วยการเลี้ยงชีพที่ชอบ อันนี้เรียกว่า สัมมาอาชีวะ ฯ
สัมมาวายามะ เป็นไฉน ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เกิดฉันทะพยายามปรารภความเพียร ประคองจิตไว้ ตั้งจิตไว้ เพื่อมิให้อกุศลธรรมอันลามกที่ยังไม่เกิดบังเกิดขึ้น เพื่อละอกุศลธรรมอันลามกที่บังเกิดขึ้นแล้ว เพื่อให้กุศลธรรมที่ยังไม่เกิดบังเกิดขึ้น เพื่อความตั้งอยู่ไม่เลือนหาย เจริญยิ่ง ไพบูลย์ มีขึ้น เต็มเปี่ยมแห่งกุศลธรรมที่งเกิดขึ้นแล้ว อันนี้เรียกว่า สัมมาวายามะ ฯ
สัมมาสติ เป็นไฉน ภิกษุในธรรมวินัยนี้ พิจารณาเห็นกายในกายอยู่มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌา และโทมนัสในโลกเสียได้ พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู่ ฯลฯ พิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่ ฯลฯ พิจารณาเห็นธรรมในธรรมอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสียได้ อันนี้เรียกว่า สัมมาสติ ฯ
สัมมาสมาธิ เป็นไฉน ภิกษุในธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุปฐมฌาน มีวิตก มีวิจาร มีปีติและสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ เธอบรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น เพราะวิตกวิจารสงบไป ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิอยู่ เธอมีอุเบกขา มีสติ มีสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยกาย เพราะปีติสิ้นไป บรรลุตติยฌาน
ที่พระอริยทั้งหลาย สรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้ เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุขเธอบรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์ และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่ อันนี้เรียกว่า สัมมาสมาธิ ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย อันนี้เรียกว่า ทุกขนิโรธคามิมีปฏิปทาอริยสัจ ฯ ดังพรรณนามาฉะนี้ ภิกษุย่อมพิจารณาเห็นธรรมในธรรมภายในบ้างพิจารณาเห็นธรรมในธรรมภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งภายในภายนอกบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเกิดขึ้นในธรรมบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือความเสื่อมในธรรมบ้าง พิจารณาเห็นธรรมคือทั้งความเกิดขึ้นทั้งความเสื่อมในธรรมบ้าง ย่อมอยู่ อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า ธรรมมีอยู่ ก็เพียงสักว่าความรู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฐิไม่อาศัยอยู่แล้ว และไม่ถือมั่นอะไร ๆ ในโลก ดูกรภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นธรรมในธรรมอยู่ ฯ

จบสัจจบรรพ
จบธัมมานุปัสสนา

[๓๐๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ผู้ใดผู้หนึ่ง พึงเจริญสติปัฏฐานทั้ง ๔ นี้ อย่างนี้ ตลอด ๗ ปี เขาพึงหวังผล ๒ ประการอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ พระอรหัตผลในปัจจุบัน ๑ หรือเมื่อยังมีอุปาทิเหลืออยู่ เป็นพระอนาคามี ๑ ๗ ปี ยกไว้ ผู้ใดผู้หนึ่งพึงเจริญสติปัฏฐาน ๔ นี้ อย่างนี้ตลอด ๖ ปี ... ๕ ปี ... ๔ ปี ... ๓ ปี ...๒ ปี ... ๑ ปี เขาพึงหวังผล ๒ ประการอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ พระอรหัตผลในปัจจุบัน ๑ หรือเมื่อยังมีอุปาทิเหลืออยู่ เป็นพระอนาคามี ๑ ๑ ปียกไว้ ผู้ใดผู้หนึ่ง พึงเจริญสติปัฏฐาน ๔ นี้ อย่างนี้ตลอด ๗ เดือน เขาพึงหวังผล ๒ ประการ อย่างใดอย่างหนึ่ง คือ พระอรหัตผลในปัจจุบัน ๑ หรือเมื่อยังมีอุปาทิเหลืออยู่เป็นพระอนาคามี ๑ ๗ เดือนยกไว้ ผู้ใดผู้หนึ่งเจริญสติปัฏฐานทั้ง ๔ นี้ อย่างนี้ ตลอด ๖ เดือน ... ๕ เดือน ... ๔ เดือน ... ๓ เดือน ... ๒ เดือน ... ๑ เดือน ... กึ่งเดือน เขาพึงหวังผล ๒ ประการอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ พระอรหัตผลในปัจจุบัน ๑ หรือเมื่อยังมีอุปาทิเหลืออยู่ เป็นพระอนาคามี ๑ กึ่งเดือนยกไว้ ผู้ใดผู้หนึ่งพึงเจริญสติปัฏฐาน ๔ นี้ อย่างนี้ตลอด ๗ วัน เขาพึงหวังผล ๒ ประการอย่างใด อย่างหนึ่ง คือ พระอรหัตผลในปัจจุบัน ๑ หรือเมื่อยังมีอุปาทิเหลืออยู่ เป็น พระอนาคามี ๑ ฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย หนทางนี้เป็นที่ไปอันเอก เพื่อความบริสุทธิ์ของเหล่าสัตว์ เพื่อล่วงความโศกและปริเทวะ เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์โทมนัส เพื่อบรรลุธรรมที่ถูกต้อง เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน หนทางนี้ คือ สติปัฏฐาน ๔ ประการ ฉะนี้แล คำที่เรากล่าว ดังพรรณนามาฉะนี้ เราอาศัยเอกายนมรรคกล่าวแล้ว พระผู้มีพระภาคตรัสพระพุทธพจน์นี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้น ยินดี ชื่นชมภาษิตของพระผู้มีพระภาคแล้ว ฉะนี้แล ฯ

จบมหาสติปัฏฐานสูตร ที่ ๙

เห็นกายในกาย คืออย่างไร

     เย็นวันหนึ่งระหว่างขับรถทางไกล ผมเปิดวิทยุทหารอากาศ AM 945 kHz ฟังแนวทางเจริญวิปัสสนา(ชุดเทปวิทยุ) ครั้งที่เท่าไหร่จำไม่ได้ ท่าน พ.อ.ชินวุธ สุนทรสีมะ เป็นตัวแทนผู้ฟังซักถามท่านอาจารย์สุจินต์ บริหารวนเขตต์ เกี่ยวกับมหาสติปัฏฐานสูตร มาถึงอิริยาปถบรรพะ ผมสงสัยเรื่องนี้มานานเกี่ยวกับสำนวน "กายในกาย" ได้ความกระจ่างในครั้งนี้เอง จึงหยุดรถ เอาเศษกระดาษใบเสร็จค่าน้ำมันออกมาจด ใส่กระเป๋าสตางค์ไว้ น่าจะเกินสองปีแล้ว ตอนนี้ยังอยู่ในกระเป๋าสตางค์เหมือนเดิม ผมจดไว้ว่า

ยืน

- ก่อน "เรา" ยืน => อัตตา 
- หลัง ปัญญาเกิด สติเกิด => อนัตตา มีแต่ลักษณะของมหาภูตรูป


เห็นกายในกาย คือ เห็นความเกิดขึ้นและเสื่อมไป (อนิจจัง) ของธรรมทั้งหลายที่เกี่ยวเนื่องด้วยกาย ว่าเป็นแต่เพียงรูปนามแต่ละลักษณะ ไม่เป็นอัตตาตัวตนแต่อย่างใด เช่น

ขณะยืนเท้าเปล่าบนพื้นหินอ่อน

บางครั้งสติเกิด ระลึกรู้ลักษณะแข็งในธาตุดินของพื้น บริเวณพื้นเท้า ขณะนั้นไม่มี "เรา" มีแต่มหาภูตรูป ธาตุดิน กระทบกับกายปสาทรูปซึ่งอยู่ที่พื้นเท้า เกิดกายวิญญาณจิตในที่นั้น รู้ความแข็งของพื้น ความแข็งเป็นเพียงลักษณะของมหาภูตรูปคือธาตุดิน ไม่ใช่ สัตว์ บุคคล ตัวตน จิตเป็นเพียงนามที่เกิดขึ้นรู้ลักษณะแข็งนั้น ไม่ใช่สัตว์ บุคคล ตัวตน การประชุมของมหาภูตรูป กายปสาทรูป และกายวิญญาณจิต เป็นไปเพียงชั่วขณะ เป็นอนิจจัง เกิดขึ้นแล้วดับไปอย่างรวดเร็ว สั้นมาก เป็นทุกข์ดำรงอยู่ไม่ได้นาน เป็นอนัตตา หาความเป็นสัตว์ บุคคล ตัวตนใด ๆ จากการประชุมของปรมัตถธรรมทั้งหลายเหล่านั้นไม่ได้เลย ไม่ควรที่จะยึดมั่นถือมั่นว่าเป็นตัวเรา ของเรา ใด ๆ ทั้งสิ้น

บางครั้งสติเกิด ระลึกรู้ลักษณะเย็นในธาตุไฟของพื้น บริเวณพื้นเท้า ขณะนั้นไม่มี "เรา" มีแต่มหาภูตรูป ธาตุไฟ กระทบกับกายปสาทรูปซึ่งอยู่ที่พื้นเท้า เกิดกายวิญญาณจิตในที่นั้น รู้ความเย็นพื้น ความเย็นเป็นเพียงลักษณะของมหาภูตรูปคือธาตุไฟ ไม่ใช่ สัตว์ บุคคล ตัวตน จิตเป็นเพียงนามที่เกิดขึ้นรู้ลักษณะเย็นนั้น ไม่ใช่สัตว์ บุคคล ตัวตน การประชุมของมหาภูตรูป กายปสาทรูป และกายวิญญาณจิต เป็นไปเพียงชั่วขณะ เป็นอนิจจัง เกิดขึ้นแล้วดับไปอย่างรวดเร็ว สั้นมาก เป็นทุกข์ดำรงอยู่ไม่ได้นาน เป็นอนัตตา หาความเป็นสัตว์ บุคคล ตัวตนใด ๆ จากการประชุมของปรมัตถธรรมทั้งหลายเหล่านั้นไม่ได้เลย  ไม่ควรที่จะยึดมั่นถือมั่นว่าเป็นตัวเรา ของเรา ใด ๆ ทั้งสิ้น

บางครั้งสติเกิด ระลึกรู้ลักษณะเคร่งตึงในธาตุลมของกล้ามเนื้อเท้า ขณะนั้นไม่มี "เรา" มีแต่มหาภูตรูป ธาตุลม กระทบกับกายปสาทรูปซึ่งอยู่ที่กล้ามเนื้อเท้า เกิดกายวิญญาณจิตในที่นั้น รู้ความเคร่งตึงในกล้ามเนื้อเท้า ความเคร่งตึงเป็นเพียงลักษณะของมหาภูตรูปคือธาตุลม ไม่ใช่ สัตว์ บุคคล ตัวตน จิตเป็นเพียงนามที่เกิดขึ้นรู้ลักษณะเคร่งตึงนั้น ไม่ใช่สัตว์ บุคคล ตัวตน การประชุมของมหาภูตรูป กายปสาทรูป และกายวิญญาณจิต เป็นไปเพียงชั่วขณะ เป็นอนิจจัง เกิดขึ้นแล้วดับไปอย่างรวดเร็ว สั้นมาก เป็นทุกข์ดำรงอยู่ไม่ได้นาน เป็นอนัตตา หาความเป็นสัตว์ บุคคล ตัวตนใด ๆ จากการประชุมของปรมัตถธรรมทั้งหลายเหล่านั้นไม่ได้เลย ไม่ควรที่จะยึดมั่นถือมั่นว่าเป็นตัวเรา ของเรา ใด ๆ ทั้งสิ้น

สติจะเกิดระลึกรู้การประชุมของธรรมมะใดที่เกี่ยวเนื่องด้วยกายหรือไม่ ไม่สามารถเจาะจงเอาได้ เพราะ สัพเพ ธัมมา อนัตตา บังคับให้เป็นไปตามต้องการไม่ได้ แต่การเจริญกุศลทุกประการ ไม่ว่าจะเล็กน้อยเพียงใด จะเกื้อกูลให้สติเกิดขึ้นได้ มากขึ้น บ่อยขึ้น จนกว่าจะเห็น กายในกาย ในระดับขั้น "ประจักษ์แจ้ง" เป็นวิปัสสนาญาณ ไถ่ถอนตัวตน ละคลายกิเลสได้ตามลำดับ

สำหรับเห็น เวทนาในเวทนา / จิตในจิต / ธรรมมะในธรรมมะ ก็โดยนัยยะเดียวกันกับ เห็นกายในกาย ครับ

นิมิต ชมนาวัง
28 มีนาคม 2556

To be done: เหลือเพิ่มพระสูตรอ้างอิง

Thursday, March 7, 2013

เหตุเศร้าโศกของนรชน

พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ (ภาษาไทย) เล่มที่ ๑๕
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๗ สังยุตตนิกาย สคาถวรรค 

๘. นันทนสูตร

ว่าด้วยเหตุเศร้าโศกของนรชน

[๔๓๗]
ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้

สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของท่าน  อนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ฯ

[๔๓๘]
ครั้งนั้นแล มารผู้มีบาปได้เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ แล้วได้กล่าวคาถานี้ในสำนักพระผู้มีพระภาคว่า

คนมีบุตร ย่อมเพลิดเพลินเพราะบุตร
คนมีโคก็ย่อมเพลิดเพลินเพราะโค
ฉันนั้นเหมือนกัน อุปธิทั้งหลายนั่นแล เป็นเครื่องเพลิดเพลินของนรชน
เพราะคนที่ไม่มีอุปธิหาเพลิดเพลินไม่ ฯ

[๔๓๙]
ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคทรงทราบว่า นี่มารผู้มีบาป จึงได้ ตรัสกะมารผู้มีบาปด้วยพระคาถาว่า

คนมีบุตร ย่อมเศร้าโศกเพราะบุตร
คนมีโคก็ย่อมเศร้าโศกเพราะโค
ฉันนั้นเหมือนกัน อุปธิทั้งหลายนั่นแล เป็นเหตุเศร้าโศกของนรชน
เพราะคนที่ไม่มีอุปธิ หาเศร้าโศกไม่ ฯ 

ครั้งนั้นแล มารผู้มีบาป เป็นทุกข์ เสียใจว่า พระผู้มีพระภาคทรงรู้จักเรา พระสุคตทรงรู้จักเรา ดังนี้ จึงได้อันตรธานไปในที่นั้นเอง ฯ

--------------------------------------

พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ (ภาษาบาลี) เล่มที่ ๑๕
สุตฺตนฺตปิฏเก เล่มที่ ๗ สํยุตฺตนิกายสฺส สคาถวคฺโค

อฏฺฐมํ นนฺทนสุตฺตํ

[๔๓๗]
เอวมฺเม   สุตํ   เอกํ  สมยํ  ภควา  สาวตฺถิยํ  วิหรติ เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม ฯ

[๔๓๘]
อถ โข มาโร ปาปิมา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควโต สนฺติเก อิมํ คาถํ อภาสิ

นนฺทติ ปุตฺเตหิ  ปุตฺติมา
โคมิโก โคหิ ตเถว นนฺทติ
อุปธีหิ นรสฺส นนฺทนา
น หิ โส นนฺทติ โย นิรูปธีติ ฯ

[๔๓๙]
โสจติ ปุตฺเตหิ ปุตฺติมา
โคมิโก โคหิ ตเถว โสจติ
อุปธีหิ นรสฺส โสจนา
น หิ โส โสจติ โย นิรูปธีติ ฯ


อถ โข มาโร ปาปิมา ชานาติ มํ ภควา ชานาติ มํ สุคโต ติ ทุกฺขี ทุมฺมโน ตตฺเถวนฺตรธายีติ ฯ

--------------------------------------

อรรถกถา สังยุตตนิกาย สคาถวรรค เทวตาสังยุต นันทนวรรคที่ ๒ นันทิสูตรที่ ๒

อรรถกถานันทิสูตรที่ ๒         
 
พึงทราบวินิจฉัยในสูตรที่ ๒ ต่อไป :

บทว่า นนฺทติ แปลว่า ย่อมยินดี คือ ย่อมมีใจเป็นของๆ ตน.

บทว่า ปุตฺติมา ได้แก่ มีบุตรมาก.

จริงอยู่ บุตรบางพวกทำกสิกรรมแล้ว ย่อมยังยุ้งข้าวเปลือกให้เต็ม บางพวกทำการค้าแล้วย่อมนำเงินและทองมา บางพวกบำรุงพระราชา ย่อมได้วัตถุทั้งหลายมียานพาหนะ คามนิคมเป็นต้น. มารดาหรือบิดาเมื่อเสวยสิริอันเกิดขึ้นด้วยอานุภาพแห่งบุตรเหล่านั้น ย่อมยินดี.

อีกอย่างหนึ่ง มารดาหรือบิดาเห็นบุตรทั้งหลายผู้อันบุคคลตกแต่งประดับประดา ทำให้เกิดความยินดี เสวยอยู่ซึ่งสมบัติในวันรื่นเริงเป็นต้น ย่อมยินดี. ด้วยเหตุนั้น เทวดาหมายเอาความเป็นไปนั้น จึงกล่าวว่า นนฺทติ ปุตฺเตหิ ปุตฺติมา แปลว่า คนมีบุตรย่อมยินดี เพราะบุตรทั้งหลายดังนี้.
บทว่า โคหิ ตเถว ความว่า คนมีบุตรย่อมยินดีเพราะบุตรฉันใด แม้คนมีโค ก็ฉันนั้น คนมีโคเห็นมณฑลแห่งโค (สนามโค) สมบูรณ์แล้ว เพราะอาศัยโคทั้งหลาย เสวยสมบัติ คือเบญจโครส จึงชื่อว่าย่อมยินดี เพราะโคทั้งหลาย.

บทว่า อุปธิ ในบทว่า อุปธีหิ นรสฺส นนฺทนา นี้ได้แก่ อุปธิ ๔ อย่าง คือ กามูปธิ (อุปธิคือกาม) ขันธูปธิ (อุปธิคือขันธ์) กิเลสูปธิ (อุปธิคือกิเลส) และอภิสังขารูปธิ (อุปธิคืออภิสังขาร).
จริงอยู่ แม้กามทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสเรียกว่า อุปธิ เพราะวจนัตถะนี้ว่า ความสุขที่บุคคลเข้าไปตั้งไว้ในกามคุณนี้ ก็เพราะความที่กามเหล่านี้เป็นที่อาศัยอยู่แห่งความสุขดังที่ตรัสไว้อย่างนี้ว่า ความสุข ความโสมนัสอันใดอาศัยกามคุณ ๕ เกิดขึ้น นี้ชื่อว่าความพอใจในกามทั้งหลาย [๑] ดังนี้.
[๑] เชิงอรรถ : ม. มู. เล่ม ๑๒/ข้อ ๑๙๗ มหาทุกฺขกฺขนฺธสุตฺต

แม้ขันธ์ทั้งหลาย ก็ตรัสเรียกว่าอุปธิ เพราะความที่ขันธ์เหล่านั้นเป็นที่อาศัยอยู่แห่งทุกข์ซึ่งมีขันธ์เป็นมูล. แม้กิเลสทั้งหลาย ก็ตรัสเรียกว่าอุปธิ เพราะความที่กิเลสเหล่านั้นเป็นที่อาศัยอยู่แห่งทุกข์ในอบาย. แม้อภิสังขารทั้งหลาย ก็ตรัสเรียกว่าอุปธิ เพราะความที่อภิสังขารเหล่านั้นเป็นที่อาศัยอยู่แห่งทุกข์ในภพ.
แต่ในที่นี้ ท่านประสงค์เอากามูปธิ เพราะกามคุณ ๕ อันบุคคลบำรุงบำเรอด้วยอำนาจแห่งวัตถุทั้งหลายมีการอยู่ในปราสาท ๓ ฤดูเป็นต้น มีที่นั่งที่นอนอาภรณ์เสื้อผ้าอันโอฬาร มีบริวารคอยบำเรอด้วยการฟ้อนรำเป็นต้น เป็นเหตุนำมาซึ่งปิติโสมนัส ย่อมยังนระให้ยินดีอยู่ฉะนั้น บุตรทั้งหลายและโคทั้งหลายฉันใด พึงทราบว่า แม้อุปธิเหล่านี้ก็ฉันนั้น เพราะเป็นที่ยินดีของนระ. 

บาทแห่งคาถาว่า น หิ โส นนฺทติ โย นิรูปธิ ความว่า บุคคลใดไม่มีอุปธิ คือเว้นจากการถึงพร้อมด้วยกามคุณ เป็นผู้ขัดสน มีอาหารและเครื่องนุ่งห่มหาได้โดยยาก บุคคลนั้นแลย่อมยินดีไม่ได้.
ถามว่า มนุษย์เพียงดังเปรต มนุษย์เพียงดังสัตว์นรก เห็นปานนี้ จักยินดีอย่างไร.
ตอบว่า ข้อนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสวิสัชนาไว้แล้ว (ในคาถาที่ ๒๗)
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสดับคำ (อันเทวดากล่าว) นี้แล้ว ทรงพระดำริว่า เทวดานี้ย่อมทำเรื่องแห่งความเศร้าโศกนั่นแหละ ให้เป็นเรื่องน่ายินดี เราจักแสดงความที่สิ่งเหล่านั้นเป็นเรื่องแห่งความเศร้าโศกแก่เธอ ดังนี้ เมื่อจะทำลายวาทะของเทวดานั้น ด้วยอุปมานั้นนั่นเอง เหมือนบุคคลยังถ้อยคำอันเป็นเหตุผลให้ตกไปด้วยเหตุผล จึงทรงเปลี่ยนพระคาถานั้นนั่นแหละ แล้วตรัสว่า โสจติ เป็นอาทิ.

บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า โสจติ ปุตฺเตหิ ความว่า เมื่อบุตรทั้งหลายสูญหายไปก็ดี เสื่อมเสียไปก็ดี ด้วยอำนาจแห่งการเดินทางไปต่างประเทศ แม้มีความสงสัยในบัดนี้ว่า จักสูญเสียไป มารดาและบิดาย่อมเศร้าโศก. อนึ่ง เมื่อบุตรตายแล้วก็ดี กำลังจะตายก็ดี หรือถูกราชบุรุษหรือโจรเป็นต้นจับตัวไป หรือว่าเข้าไปสู่เงื้อมมือของข้าศึกทั้งหลาย มารดาหรือบิดาเป็นผู้มีความสงสัยว่าตายแล้วก็ดี ย่อมเศร้าโศก. เมื่อบุตรพลัดตกจากต้นไม้หรือจากภูเขาเป็นต้นมีมือและเท้าหักก็ดี บอบช้ำก็ดี มีความสงสัยว่าแตกหักแล้วก็ดี มารดาหรือบิดาย่อมเศร้าโศก. บุคคลมีบุตรย่อมเศร้าโศกเพราะบุตรทั้งหลายฉันใด แม้คนมีโคก็ฉันนั้น ย่อมเศร้าโศกเพราะโคทั้งหลาย โดยอาการ ๙ อย่าง.
              
บาทพระคาถาว่า อุปธี หิ นรสฺส โสจนา ความว่า เหมือนอย่างว่า บุตรและโคทั้งหลายฉันใด แม้อุปธิคือกามคุณ ๕ ก็ฉันนั้น ย่อมยังนระให้เศร้าโศก โดยนัยที่ตรัสไว้ว่า [๒]
ตสฺส เจ กามยมานสฺส     ฉนฺทชาตสฺส ชนฺตุโน 
เต กามา ปริหายนฺติ    สลฺลวิทฺโธว รุปฺปติ.
หากว่าสัตว์นั้นมีความรักใคร่ มีความพอใจเกิดแล้ว
กามเหล่านั้นย่อมยังเขาให้ย่อยยับไป เหมือนบุคคลถูกลูกศรแทงแล้ว ย่อมพินาศ ฉะนั้น.

[๒] เชิงอรรถ: ขุ. สุตฺต. เล่ม ๒๕/ข้อ ๔๐๘ กามสุตฺต
เพราะฉะนั้น บัณฑิตพึงทราบว่า ความเศร้าโศกของนระ ก็คือเรื่องความเศร้าโศกนั่นแหละ.

บทว่า น หิ โส โสจติ โย นิรูปธิ ความว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอธิบายไว้ว่า อุปธิ ๔ เหล่านี้ไม่มีแก่ผู้ใด ผู้นั้นย่อมไม่มีอุปธิ คือความเศร้าโศก. ดูก่อนเทวดา เพราะเหตุนั้นแหละ พระมหาขีณาสพจักเศร้าโศก หรือกำลังเศร้าโศกมีหรือ ดังนี้แล.

จบอรรถกถานันทิสูตรที่ ๒

ที่มา : http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=15&i=26

--------------------------------------

SN: 4.8

8. Nandatisuttaṃ
144. Evaṃ me sutaṃ – ekaṃ samayaṃ bhagavā sāvatthiyaṃ viharati jetavane anāthapiṇḍikassa ārāme. Atha kho māro pāpimā yena bhagavā tenupasaṅkami; upasaṅkamitvā bhagavato santike imaṃ gāthaṃ abhāsi –

 
Nandati puttehi puttimā, gomā gobhi tatheva nandati;

Upadhīhi narassa nandanā, na hi so nandati yo nirūpadhī ti.


Socati puttehi puttimā, gomā gobhi tatheva socati;

Upadhīhi narassa socanā, na hi so socati yo nirūpadhī ti.
 

Atha kho māro pāpimā jānāti maṃ bhagavā jānāti maṃ sugato ti dukkhī dummano tatthevantaradhāyīti.

Source : http://tipitaka.org/romn/cscd/s0301m.mul3.xml

--------------------------------------

SN: 4.8

I have heard that on one occasion the Blessed One was staying near Savatthi in Jeta's Grove, Anathapindika's monastery. Then Mara the Evil One went to the Blessed One and recited this verse in his presence:

Those with children delight because of their children.
Those with cattle delight because of their cows.
A person's delight comes from acquisitions, since a person with no acquisitions doesn't delight.

[The Buddha:]

Those with children grieve because of their children.
Those with cattle grieve because of their cows.
A person's grief comes from acquisitions, since a person with no acquisitions doesn't grieve.

Then Mara the Evil One — sad & dejected at realizing, "The Blessed One knows me; the One Well-Gone knows me" — vanished right there.

Source: http://bit.ly/ZtGlXd

--------------------------------------

นิมิต  ชมนาวัง
7 มีนาคม 2556